Page 259 - สังคมโลก
P. 259

ขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมในสังคมโลก 10-19

            ชว่ งท​ ส​ี่ าม การจ​ ดั อ​ งคก์ าร (organization) เป็นการจ​ ัดอ​ งค์การแ​ ละโ​ครงสร้าง เช่น สถานท​ ี่ต​ ั้ง การบ​ ังคับ​
บัญชา การ​วางแผนก​ ำลังค​ น กิจกรรม งบป​ ระมาณ เป็นต้น

            ชว่ งท​ ส​่ี ่ี การส​ รา้ งค​ วามเ​ปน็ ส​ ถาบนั (institutionalization) เป็นการเ​ปลี่ยนแปลงจ​ ากอ​ งคก์ ารใ​หก้​ ลายเ​ปน็ ​
สถาบัน​ทาง​สังคม มีค​ วาม​ต่อ​เนื่อง มี​ความ​เป็นป​ ึก​แผ่น มี​ความส​ ามารถ​ในก​ าร​ปรับ​ตัว เป็นต้น

            ชว่ งท​ ห​่ี า้ ชว่ งก​ ารถ​ ดถอยข​ องอ​ งคก์ ารแ​ ละค​ วามเ​ปน็ ไ​ปไ​ดใ​้ นก​ ารฟ​ นื้ ก​ ลบั ม​ าข​ องอ​ งคก์ าร (organizational
decline and possible resurgence) เป็นการเ​ปลี่ยนแปลงท​ ี่ส​ ำคัญ เพื่อใ​ห้ข​ บวนการเ​คลื่อนไหวภ​ าคป​ ระชาส​ ังคมไ​ปส​ ู่ก​ าร​
สิ้น​สุดห​ รือ​ดำรงอ​ ยู่ไ​ด้​อย่างต​ ่อเ​นื่อง​ในส​ ังคม

       ขบวนการ​เคลื่อนไหว​ภาค​ประชา​สังคม​จึง​มี​ความ​แตก​ต่าง​จาก​องค์กร​หรือ​สถาบัน​ทาง​สังคม​ใน​การ​รวม​กลุ่ม​
อื่น ที่ส​ ำคัญ คือ กลุ่มผ​ ลป​ ระโยชน์ (Interest group) ที่เ​ป็นการร​ วมก​ ลุ่มเ​พราะม​ ีผ​ ลป​ ระโยชน์ร​ ่วม หากเ​ป็นกล​ ุ่มก​ ดดัน
(Pressure group) เป็นการ​รวม​กลุ่มเ​พราะ​มี​อุดมการณ์ร​ ่วม หากเ​ป็นป​ ระชา​สังคม (civil society) เป็นการร​ วมก​ ลุ่ม​
เพราะ​มีค​ วามร​ ู้สึก​ร่วมใ​น​การ​เป็น​เจ้าของ (sense of belonging) แต่ห​ ากเ​ป็นข​ บวนการเ​คลื่อนไหว​ภาค​ประชาส​ ังคม​
เป็นการร​ วมก​ ลุ่มเ​พราะก​ ารนำส​ ังคม วัฒนธรรม ศาสนา ความเ​ชื่อ หรืออ​ งค์ป​ ระกอบใ​ดอ​ งค์ป​ ระกอบห​ นึ่งท​ างส​ ังคมเ​ข้า​
มาเ​ป็นห​ ลักส​ ำคัญใ​นก​ ารร​ วมก​ ลุ่ม และแ​ ตกต​ ่างพ​ รรคการเมืองเ​พราะเ​ป็นการร​ วมก​ ลุ่มข​ องบ​ ุคคลท​ ี่ม​ ีว​ ัตถุประสงค์เ​พื่อ​
ช่วงช​ ิงอ​ ำนาจร​ ัฐอ​ ย่างช​ อบธ​ รรมท​ ำให้บ​ ุคคลใ​นส​ ังกัดพ​ รรคการเมืองต​ ้องล​ งส​ มัครร​ ับเ​ลือกต​ ั้ง แต่ข​ บวนการเ​คลื่อนไหว​
ภาคป​ ระชา​สังคมต​ ้องการค​ รอบงำ ต่อ​ต้าน สนับสนุน การเ​ปลี่ยนแปลง

       สังคม​โดยที่อ​ าจผ​ ่านร​ ัฐ​หรือไ​ม่ก​ ็ได้ ขบวนการเ​คลื่อนไหว​ภาค​ประชาส​ ังคม​จึง​อาจ​เป็นเ​ครื่อง​มือ​ทางการเ​มือง​
ของ​พรรคการเมือง เช่น พรรค​คอมมิวนิสต์​หรือ​พรรค​นาซี​ใน​การ​เผย​แพร่​อุดมการณ์​ทั้ง​ภายใน​ประเทศ​และ​ระหว่าง​
ประเทศ เป็นต้น

  กจิ กรรม 10.1.2
         ขบวนการเ​คล่อื นไหวภ​ าค​ประชาส​ งั คมม​ ีค​ วามแ​ ตก​ตา่ ง​จาก​การร​ วม​กลมุ่ ​แบบ​ อนื่ ๆ อยา่ งไร

  แนวต​ อบก​ ิจกรรม 10.1.2
         ขบวนการเ​คลอื่ นไหวภ​ าคป​ ระชาส​ งั คมม​ ค​ี วามแ​ ตกต​ า่ งจ​ ากอ​ งคก์ รห​ รอื ส​ ถาบนั ท​ างส​ งั คมใ​นก​ ารร​ วมก​ ลมุ่ ​

  อื่น ท่​สี ำคัญ คอื กลุ่มผ​ ล​ประโยชน์ (Interest group) ท่ีเ​ป็นการร​ วมก​ ลุ่ม​เพราะ​มีผ​ ล​ประโยชน์​ร่วม หาก​เปน็ กล​ ุ่ม​
  กดดนั (Pressure group) เป็นการร​ วม​กลุ่ม​เพราะ​มอ​ี ุดมการณ์​รว่ ม หาก​เปน็ ​ประชาส​ ังคม (civil society) เป็นการ​
  รวม​กลุ่ม​เพราะ​มี​ความ​รู้สึก​ร่วม​ใน​การ​เป็น​เจ้าของ (sense of belonging) แต่​หาก​เป็น​ขบวนการ​เคลื่อนไหว​ภาค​
  ประชาส​ งั คมเ​ปน็ การร​ วมก​ ลมุ่ เ​พราะก​ ารนำส​ งั คม วฒั นธรรม ศาสนา ความเ​ชอ่ื หรอื อ​ งคป​์ ระกอบใ​ดอ​ งคป​์ ระกอบ​
  หน่ึง​ทาง​สังคม​เข้า​มา​เป็น​หลัก​สำคัญ​ใน​การ​รวม​กลุ่ม และ​แตก​ต่าง​พรรคการเมือง​เพราะ​เป็นการ​รวม​กลุ่ม​ของ​
  บุคคลท​ ​่มี ว​ี ตั ถปุ ระสงคเ์​พ่อื ช​ ว่ ง​ชิงอ​ ำนาจร​ ัฐ​อยา่ งช​ อบธ​ รรมท​ ำใหบ​้ คุ คลใ​นส​ งั กัดพ​ รรคการเมอื งต​ อ้ ง​ลง​สมัคร​รบั ​
  เลือกต​ ัง้ แต่​ขบวนการเ​คล่อื นไหว​ภาค​ประชาส​ งั คม​ต้องการค​ รอบงำ ตอ่ ​ตา้ น สนับสนุน การเ​ปลย่ี นแปลงส​ งั คม​
  โดยทอ​ี่ าจผ​ า่ นร​ ฐั ห​ รือ​ไม่​กไ็ ด้

                              ลขิ สิทธ์ขิ องมหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช
   254   255   256   257   258   259   260   261   262   263   264