Page 263 - สังคมโลก
P. 263
ขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมในสังคมโลก 10-23
ในทำนองเดียวกันทูเรนมองว่า การเข้าร่วมในขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมเป็นวิถีทางเดียวที่
ปัจเจกบุคคลจ ะฟื้นฟูเสรีภาพข องพ วกเขาขึ้นม าได้
ทั้งฮาเบอมาส และทูเรน เชื่อว ่าบทบาทหลักของขบวนการเคลื่อนไหวภาคป ระชาส ังคม คือก ารทำให้ผ ู้คนที่มี
ความต ื่นต ัวเรื่องเสรีภาพข องพ วกเขาเข้าร ่วมข บวนการเพื่อต ่อต ้านก ารต กเป็นเหยื่อ หรือก ารถ ูกค รอบค รองโดยอ ำนาจ
รัฐและอำนาจข องต ลาด คำว่า “actors” และ “subjects” ถูกใช้เพื่อเรียกขานปัจเจกบุคคลที่มีความต ื่นตัวแ ละพร้อม
ที่จะม ีบ ทบาทอ ย่างเต็มที่ในส ังคม เพื่อร ่วมข บวนการต่อต้าน
ดังน ั้น ขบวนการเคลื่อนไหวภ าคประชาส ังคมจึงเป็นข บวนการป ลุกให้มีความต ื่นตัว เพื่อสร้าง เอกลักษณ์
ความเป็นมนุษย์และสังคม ซึ่งปลอดจากการครอบครองของรัฐที่ปกครองโดยเทคโนแครตและครอบงำโดยระบบ
ตลาด การส รา้ งเอกลักษณน์ เี้ ป็นส ว่ นห นึง่ ข องข บวนการเคลื่อนไหวภ าคป ระชาส ังคม มใิ ชจ่ ุดม ุ่งห มายท ้ายส ดุ ขบวนการ
เคลือ่ นไหวภ าคป ระชาส งั คมเปน็ การร วมก ลุม่ ร ปู แ บบห นึง่ เพือ่ ท า้ ทายก ารใชอ้ ำนาจท างการเมอื งแ ละเศรษฐกจิ แ บบผ ดิ ๆ
และเพื่อเปลี่ยนสถาบันทางการเมืองแ ละส ถาบันเศรษฐกิจ ด้วยจุดประสงค์ของการส ร้างส ังคมใหม่ที่ดีก ว่า ขบวนการ
เคลื่อนไหวภาคประชาสังคมนี้จะขัดแย้งกับกรอบประเพณีธรรมเนียมที่ถือปฏิบัติกันอยู่เดิมๆ และขัดแย้งกับระบบ
คุณค่าเดิมด ้วย มันจ ึงเป็นการต ่อสู้เพื่อค วามเป็นไทข องบ ุคคลภ ายในป ระชาส ังคม ซึ่งถ ูกค รอบค รองแ ละค รอบงำโดย
รัฐแ ละตลาดน ั้นเอง ดังท ี่ ฌอง โคเฮน และ แอนดริว โอเรโต (Jean Cohen & Andrew Orato) สรุปว ่า “…collective
actors strive to create group identities within a general identity whose interpretation they contest”41
ในความเห็นของแบรนด์ (Brand) ขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมดังกล่าวมุ่งไปที่ปัญหาของ คุณภาพชีวิต
สิทธิที่เท่าเทียมกัน ศักยภาพของบุคคล การมีส่วนร่วมทางการเมืองมากกว่าปัญหาเรื่องการกระจายรายได้ หรือ
ความข ัดแย้งด้านช นชั้น42
ในสถานการณ์ปัจจุบันที่รัฐชาติกลับมาเข้มแข็งคู่ขนานกับพลังทุนนิยม จนควบคุมความคิดและครอบงำ
อุดมการณ์ตรึงให้ขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมเผชิญกับสภาวะแรงเฉื่อย ชาร์ล ทิลลี่ (Charles Tilly)43
ได้ให้ภาพขบวนการแบบนี้ว่า เริ่มมาตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 18 ในสังคมตะวันตก ซึ่งก่อนหน้านี้เริ่มมีการ
เคลื่อนไหวจากกลุ่มเล็กๆ ที่มี “ความต่าง” ทั้งในแง่การดำเนินชีวิต แบบแผนการนับถือศาสนา อุดมการณ์ทางการ
เมือง การเคลื่อนไหวเล็กๆ นี้ ยุคแรกเป็นการรณรงค์เพื่อการต่อต้านอำนาจของคริสตจักร และรณรงค์เรียกร้องต่อ
การมีสิทธิในการปฏิบัติตนตามความเชื่อทางศาสนาของตนเอง ซึ่งในยุโรปช่วงนั้นเริ่มมีการแบ่งแยกกันระหว่าง ผู้ที่
นับถือศ าสนาค ริสต์น ิกายค าทอลิกแ ละโปรเตสแตนท์
ในย คุ น ั้นเอง แม้วา่ จ ะเปน็ การเคลื่อนไหวก ลุม่ เลก็ ๆ กต็ าม แตล่ ักษณะข องก ารเคลื่อนไหวด ังก ลา่ ว กลับถ กู น ำ
มาใชป้ ฏิบัตกิ ารอ ย่างต ่อเนื่อง และย ังข ยายต ัวม ากข ึ้นไปอ ีก รวมท ั้งย ังม กี ารป รับ การพ ัฒนาร ูปแ บบก ารเคลื่อนไหวผ ่าน
ยุคส มัยต่างๆ เรื่อยม า จนถึงป ัจจุบันนี้ สามารถบอกได้ว่า มีค วามแตกต ่างจ ากจุดเริ่มต ้นมาก ซึ่งข บวนการเคลื่อนไหว
เหล่านี้ เริ่มม ีป ริมณฑลท างการเมืองของต นเองอย่างชัดเจน
ความน า่ ส นใจค อื ความค ดิ ข องท ลิ ล ยี่ งั ม องเหน็ อ กี ว า่ ขบวนการเคลือ่ นไหวเหลา่ น ี้ มี 3 องคป์ ระก อบส ำคญั ๆ คอื
1) มีความมุ่งม ั่นต ่อป ระเด็นท ี่เคลื่อนไหวให้สาธารณะรับร ู้
2) มีก ารร วมต ัวกันอ ย่างเหนียวแน่น หรือม ีร ูปแบบข ององค์กรเฉพาะ
3) ให้ค วามสำคัญก ับก ารม ีส่วนร่วม ทั้งในกลุ่มและจากสาธารณะ
41 Jean Cohen, and Andrew Orato, Civil Society & Political Theory (Cambridge: The MIT Press, 1997, p. 511.
42 Brand, The Force of Reason. Sydney: Allen and Unwin, 1990, p. 15.
43 วิริยะ สว่างโชติ “การเมืองใหม่ ว่าด้วยก ารเคลื่อนไหวทางสังคม (New Politic of Social Movement)” www.thaingo.org [1
May 2006]
ลขิ สทิ ธขิ์ องมหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธิราช