Page 264 - สังคมโลก
P. 264
10-24 สังคมโลก
นอกจากนี้ ทิลล ี่ ยังเสนอไว้ในผลงานของเขาว่า ขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมไม่จ ำเป็นต ้องแ ยกต ัว
เองอ อกจ ากระบบการเมือง แต่สามารถร่วมก ันได้ เช่น กับขบวนการแ รงงาน หรือร่วมร ณรงค์การเลือกตั้ง ฉะนั้น การ
เคลื่อนไหวท างส ังคมบ างค รั้งก อ็ าจจ ะซ ้อนท ับ แทรก หรือป ะปนไปก ับป รากฏการณท์ างการเมือง และอ ื่นๆ ในส ังคม แต่
ประเด็นท ี่อาจจ ะต้องให้ค วามสนใจให้ม ากๆ คือ การเคลื่อนไหวทางส ังคมนี้ “นำกระแสส ังคม” หรือว ่า “ตามกระแส
สังคม” ไม่ว่าจะเป็นเรื่อง ขบวนการสิ่งแวดล้อม ขบวนการจัดการทรัพยากรแบบชุมชน ขบวนการสิทธิสตรี เป็นต้น
เพราะทั้ง 2 ประเด็นน ี้ คือ ปัญหาที่ต ้องต ั้งค ำถาม ว่าการเคลื่อนไหวแ บบใดจ ึงจะได้ร ับการสนับสนุนจ ากสาธารณชน
มากหรือน้อยอย่างไร ไม่ว ่าจ ะเป็นการสนับสนุนทั้งในระดับช ุมชน ประเทศ หรือร ะดับโลกก็ตาม
ทิลล ี่ มองว ่า ขบวนการเคลื่อนไหวต ั้งแต่ป ลายค ริสต์ศ ตวรรษท ี่ 20 ถึง ศตวรรษท ี่ 21 เป็นต้นม า ซึ่งแ ม้ว่าจ ะได้
รับการสนับสนุนในร ะดับโลกม ากขึ้น แต่ก ็ไม่อาจจะประเมินได้ ถึงเหตุการณ์ห รือกรณีที่น ำไปสู่การส นับสนุนได้อย่าง
ตายตัว เช่น หากเทียบก ันระหว่างส งครามอิรักครั้งท ี่ 2 ผู้ประท้วงส งครามในระดับโลกกลับม ีน้อย หากเทียบก ับใน
ยุคสมัยข องส งครามเวียดนามในยุคค ริสต์ทศวรรษ 1970
ในปีเดียวกันนี้เอง กลุ่มผู้ประท้วงการประชุมองค์การการค้าโลก (World Trade Organization: WTO)
ที่เมืองแคนคูน ในแม็กซิโก กลับดูจะเป็นขบวนการเคลื่อนไหวที่ชัดเจน ฉะนั้น เราไม่อาจจะสรุปได้ถึงประเด็นการ
เคลื่อนไหว กับจำนวนผู้ส นับสนุนว่าเรื่องใหญ่ หรือเรื่องสำคัญจะเป็นเรื่องที่ได้รับความส นใจ แล้วส นับสนุนเสมอไป
และใช่ว ่าเรื่องใหญ่ๆ ระดับโลกจ ะได้ร ับการสนับสนุนจากสาธารณชนร ะดับโลกเสมอไป
การศ ึกษา อธิบาย ตีความ นิยาม ขบวนการเคลื่อนไหวภ าคป ระชาส ังคมแ บบเดิม ที่ผ ูกต ิดด ้วยอ ุดมการณ์ช ุด
ใดชุดหนึ่ง ตามท ฤษฎีทางส ังคมท ี่ให้ค วามส นใจเรื่องการเปลี่ยนแปลงทางส ังคมของขบวนการภ าคประชาชนน ั้น อาจ
จะไม่ส ามารถอธิบายป รากฏการณ์ทางสังคมได้อีกต่อไป
ในแง่มุมหนึ่ง ขบวนการเคลื่อนไหวอาจจะไม่ได้เกี่ยวข้องกับอุดมการณ์ หรือจิตสำนึกทางชนชั้นใด ชนชั้น
หนึ่งต่อไป เนื่องจากขบวนการเคลื่อนไหวแ ต่ละประเด็นทางส ังคม กลุ่มคนที่เข้าร่วมเคลื่อนไหวไม่อ าจจ ะนิยามค วาม
เป็นช นชั้นได้ช ัดเจนน ัก
ความสำคัญในเรื่องเหล่านี้ น่าจะมุ่งไปที่การทำความเข้าใจถึงมิติความสัมพันธ์ทางสังคมของขบวนการ
เคลือ่ นไหว เกี่ยวก บั ป ระเด็นค วามร ว่ มม อื ความเปน็ ม ิตรภาพ การช ว่ ยเหลอื เกื้อกูลก ัน รวมถ ึงก ารไหลเวียนข องข ่าวสาร
และความรู้ ระหว่างก ันข องผู้ที่อ ยู่ในขบวนการเคลื่อนไหวในภ าคส าธารณะ และผู้ที่ให้การสนับสนุนว่า เขาร่วมม ือกัน
อย่างไร ดำเนินกิจกรรมนั้นเช่นไร แล้วค่อยพิจารณาถ ึงเป้าห มาย หรือวัตถุประสงค์ข องการเคลื่อนไหว ซึ่งอาจจะเป็น
ประเด็นร องล งไปก็ได้
ทั้งหมดท ี่กล่าวมา เป็นเพียงข ้อส ังเกตเบื้องต ้น ที่ต้องการช ี้ให้เห็นว ่า ในยุคป ัจจุบันนี้ เราจำเป็นต ้องพิจารณา
“พืน้ ที”่ (sphere) อนั แ สดงใหเ้ หน็ ถ งึ ม ติ ขิ องค วามส มั พนั ธท์ างส งั คมของข บวนการเคลือ่ นไหว และก ารพ จิ ารณาป ระเดน็
ที่กล่าวมานี้ ไม่ได้ละเลยถึงป ัญหาปากท้อง ปัญหาค วามยากจน อำนาจท างโครงสร้าง การค รอบงำของจักรวรรดินิยม
การเหยียดผ ิว การก ดขี่ทางเพศส ภาพ ปัญหาสงคราม ฯลฯ หากแ ต่ “เรื่องแต่ดังก ล่าว เป็นป ระเด็นที่เริ่มล ้าห ลังม าก
ขึ้นแ ล้ว ถ้าจะนำไปกล่าวถ ึงเพื่อข ับเคลื่อนพลังขบวนการภ าคประชาชนในอ นาคต”
กล่าวโดยส รุปแ ล้ว ขบวนการเคลื่อนไหวภ าคป ระชาส ังคมม ีค วามส ำคัญต ่อก ารพ ัฒนาป ระชาธิปไตยในส ังคม
ไม่ว ่าจ ะเป็นแ นวคิดที่ม ุ่งเน้นก ารเข้าร ่วมข องส มาชิกท ี่ห ลากห ลายในก ารต ่อสู้เรียกร้องส ิทธิท างม นุษยชน การเรียกร้อง
ความไม่เท่าเทียมกันทางสังคม การเมือง เศรษฐกิจ หรือการต่อสู้เพื่ออนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
รวมทั้งยังมีบ ทบาทสำคัญต่อก ารตัดสินใจก ำหนดน โยบายภ าคร ัฐของรัฐบาลอีกด้วย
ลขิ สทิ ธิ์ของมหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช