Page 269 - สังคมโลก
P. 269
ขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมในสังคมโลก 10-29
เป็นการเคลื่อนไหวเรียกร้องของประชาชนธรรมดา เพื่อเรียกร้องสิทธิพื้นฐานของพวกเขาในฐานะที่เป็นมนุษย์รวม
ไปถึงสิทธิที่จะไม่เชื่อฟังรัฐด้วย ซึ่งเป็นทางเลือกที่สามของการเรียกร้องหรือการมีส่วนร่วมทางการเมืองที่นอกเหนือ
ไปจ ากช ่องทางป กติ แต่เป็นสิ่งท ี่ชอบธ รรมแ ละจ ะมีผลทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงท ั้งในทางก ฎหมายและในท างสังคม
ไม่ใช่ป ล่อยให้ร ัฐ นักการเมือง ผู้พ ิพากษา นักก ฎหมาย นักเทคนิคว ิชาการ และข้าราชการ ผูกขาดการกำหนดท ิศทาง
ทางการเมอื งแ ตเ่ พยี งฝ า่ ยเดยี ว47 หรอื ก ลา่ วอ กี แ บบห นึง่ ไดว้ า่ การจ รรโลงป ระชาธปิ ไตยน ัน้ ไมใ่ ชเ่ รือ่ งข องก ารด ำเนนิ ก าร
ในร ะดับร ัฐ แตร่ วมถ ึงในร ะดับป ระชาชนร ากห ญ้าด ้วย48 เพราะฉ ะนั้นป ระชาชนต ้องเข้าม าม สี ่วนร ่วมท างการเมืองอ ย่าง
แข็งขัน เพื่อป้องกันม ิให้ร ัฐเท่านั้นที่ท รงสิทธิในการส ร้างร ูปแบบข องก ารมีส ่วนร ่วมขึ้นมาเพียงฝ่ายเดียว ดังน ั้น การม ี
ส่วนร ่วมที่เน้นความเสมอภ าคแ ละความเป็นอ ิสระของประชาชน จะน ำไปสู่การม ีวัฒนธรรมท างการเมืองในลักษณะท ี่
เรียกว่าประชาธิปไตยแ บบมีส ่วนร ่วมน ั่นเอง
ในท ัศนะข องน ักป ระชาธิปไตยแ บบม ีส ่วนร ่วม (participatory democracy) ต้องการให้ป ระชาชนม ีส ่วนร ่วม
ทางการเมืองโดยตรงในกระบวนการตัดสินใจต่างๆ มากข ึ้น เช่น การกำหนดนโยบาย การทำประชาพิจารณ์ เป็นต้น
พร้อมกันนั้นประชาชนก็มีหน้าที่หลักในการติดตามและตรวจสอบนักการเมืองที่เข้าไปใช้อำนาจอธิปไตยแทนตนเอง
ดว้ ย อยา่ งไรก ต็ าม ป ระชาธปิ ไตยแ บบม สี ว่ นร ว่ มม กั ไมค่ อ่ ยถ กู ใชใ้ นฐ านะท เี่ ปน็ ส ว่ นห นึง่ ข องก ระบวนการป กครองร ะดบั
ประเทศ แตส่ ่วนม ากม ักถ ูกใชภ้ ายในก ลุ่มท ีม่ ขี นาดเล็กโดยเฉพาะช ่วงป ลายค ริสตท์ ศวรรษ 1960 ในฐ านะเป็นส ่วนห นึ่ง
ของก ลุ่มก ารเมืองทวนก ระแสหรือกลุ่มท ี่เรียกตนเองว่า “ซ้ายใหม่” (new Left) เช่น ขบวนการน ักศึกษา กลุ่มพ ิทักษ์
สิทธิสตรี และกลุ่มอนุรักษ์ธรรมชาติ เป็นต้น กลุ่มเหล่านี้ต้องการเปลี่ยนแปลงระบบเดิมที่มีลักษณะโครงสร้างแบบ
ลำดับชั้นมาเป็นโครงสร้างท ี่ท ุกคนม ีความเสมอภ าคก ัน และส ่งเสริมการม ีส่วนร ่วมในการต ัดสินใจอย่างกว้างข วาง
เงื่อนไขห รืออ งค์ป ระกอบที่จ ำเป็นสำหรับประชาธิปไตยแ บบม ีส่วนร่วม มีดังนี้49
1. ทุกคนสามารถหยิบยกประเด็นปัญหา เสนอแนะวิธีการแก้ปัญหา และเข้าไปมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ
ขั้นสุดท้ายด้วย
2. มีการประชุมปรึกษาหารือแบบหันหน้าเข้ากัน เพื่อจะทำให้เกิดแนวทางแก้ปัญหาที่เป็นไปได้ ซึ่งเกิดจาก
การถ กเถียงกันจ นได้ข ้อสรุปที่เป็นวิธีก ารแก้ป ัญหาที่ด ีที่สุดขึ้น
3. เกิดก ารถกเถียงกันเป็นอ ย่างมาก เพราะท ุกค นต้องการเสนอทัศนะหรือม ุมมองของตนเอง
4. มีแ นวโน้มว ่าการต ัดสินใจใดๆ ก็ตามจะม ีล ักษณะเป็นแ บบฉันทานุมัติ (consensus) ที่ทุกค นมีความเห็น
สอดคล้องต ้องก ันท ั้งหมดม ากกว่าจ ะใชว้ ิธกี ารล งค ะแนนเสียงซ ึ่งจ ะใชเ้สียงส ่วนใหญเ่ป็นต ัวช ี้ขาดในก ารต ัดสินใจเลือก
ทางเลือกใดท างเลือกหนึ่ง
จากอ งค์ป ระกอบด ังก ล่าว สามารถส รุปได้ว ่าป ระชาธิปไตยแ บบม ีส ่วนร ่วมเน้นก ารเปิดโอกาสให้ท ุกค นเข้าม า
มีส ่วนร่วมในก ารต ัดสินใจเกี่ยวก ับป ัญหาข องตนเองอ ย่างเสมอภาคกัน (equality) เป็นส ำคัญ โดยเฉพาะค วามเสมอ
ภาคในการแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการตัดสินใจได้อย่างเต็มที่ในแต่ละขั้นตอนของกระบวนการตัดสินใจ ตั้งแต่
ขั้นตอนการเลือกประเด็นปัญหา พร้อมทั้งเสนอทางเลือกต่างๆ ในการแก้ปัญหา จนถึงการตัดสินใจขั้นสุดท้ายที่จะ
เลือกท างเลือกใดท างเลือกห นึ่งในก ารแ กป้ ัญหาน ั้น การต ัดสินใจร ่วมก ันด ังก ล่าวจ ะท ำใหส้ มาชิกภ ายในก ลุ่มม คี วามสุข
และเกิดความรู้สึกเป็นเจ้าของหรือผูกพันกับกลุ่มของตนเองมากขึ้น การตัดสินใจแบบฉันทานุมัติก็จะเป็นข้อผูกมัด
ที่ม ีป ระสิทธิภาพในก ารนำก ารต ัดสินใจไปส ู่ก ารป ฏิบัติ เพราะท ุกค นในก ลุ่มม ีค วามเห็นเป็นแ นวทางเดียวกันห มด และ
47 เรื่องเดียวกัน หน้า 56-57
48 นฤมล ทบั จ มุ พล “ประชาธปิ ไตยร ากห ญา้ ” ใน ลกุ ข ึน้ ส ู้ ณรงค์ เพช็ รป ระเสรฐิ บรรณาธกิ าร กรงุ เทพมหานคร ศนู ยศ์ กึ ษาเศรษฐศาสตร์
การเมือง คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2543 หน้า 85
49 Helena Catt, Democracy in practice. London: Routledge, 1999, p. 40.
ลิขสทิ ธิข์ องมหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราช