Page 271 - สังคมโลก
P. 271
ขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมในสังคมโลก 10-31
ภาคป ระชาส ังคมช นิดน ี้จ ะม ีล ักษณะร ่วมก ับข บวนการเคลื่อนไหวท ี่ค ัดค้านร ะบบก ารป กครองห รือส ถาบันบ างป ระเภท
เช่น ระบอบเผด็จการ ระบอบอำนาจนิยม การครอบงำของสถาบันกองทัพมากกว่าคัดค้านรัฐบาล มีบทบาทในการ
ต่อร องก ับอ ำนาจร ัฐในเรื่องก ารป กป้องส ิทธิม นุษยช น การเปิดช่องทางการส ื่อสารท างการเมืองแ ละก ารม ีส ่วนร ่วมจ าก
ประชาชน และส นับสนุนแ นวคิดเรื่องส ังคมแ บบพ หนุ ิยมท ีเ่ป็นป ระชาธิปไตย (pluralistic democratic society) เป็น
กลไกส ำคัญท ี่ส นับสนุนให้เกิดก ารเปลี่ยนแปลงเพื่อป ระชาธิปไตยโดยก ารท ำห น้าที่เป็นต ัวกลางร ะหว่างร ัฐก ับพ ลเมือง
แต่อาจยังไม่เข้มแข็งเพียงพอที่จะกดดันรัฐบาลให้พัฒนาประชาธิปไตยได้อย่างมีนัยสำคัญ นอกจากนั้น ขบวนการ
เคลื่อนไหวภ าคป ระชาส ังคมบ างแ ห่งในเอเชียแ ละล าต นิ อเมร ิกาย ังม บี ทบาทในก ารต ่อสูเ้พื่อป ระชาธิปไตยในช ่วงค ริสต์
ทศวรรษ 1980 และ 199052
2) บทบาทในก ารเป็นเครื่องม ือห รือก ลไกข องก ลุ่มต ่างๆ ในร ะดับร ากห ญ้า (a mechanism of grass-
roots organizations) เพื่อแก้ไขปัญหาทางเศรษฐกิจสังคม โดยให้ชาวบ้านสามารถแสดงออกถึงความต้องการของ
พวกเขาผ่านกลไกทางการเมืองที่มีอยู่ บทบาทการวิเคราะห์อธิบายปัญหาเศรษฐกิจของคนจนบนมิติทางการเมือง
เช่น การอ ธิบายป ัญหาค วามย ากจน ว่าเกิดข ึ้นเพราะป ระชาชนไมส่ ามารถเข้าถ ึงอ ำนาจ ซึ่งในท ีน่ ีห้ มายถ ึงศ ักยภาพท ี่จ ะ
กระทำในส ิ่งท ีต่ ้องการแ ละไดร้ ับก ารย อมรับแ ละส นับสนุนจ ากก ลุ่มอ ื่นๆ คนจนเหล่าน ีไ้มไ่ดค้ วบคุมเงื่อนไขท ั้งท างว ัตถุ
และในส ถาบันท ี่พ วกเขาด ำรงอ ยู่ พวกเขาป ระสบค วามย ากล ำบากท ี่จ ะเป็นฝ ่ายก ำหนดการต ัดสินใจท ี่เกี่ยวก ับว ิถีช ีวิต
ของเขาเอง หรืออ าจก ล่าวอย่างง ่ายค ือ คนจนขาดอ ิทธิพลทางการเมืองที่จะก ดดันให้เกิดสิ่งที่พวกเขาป รารถนา53
กจิ กรรม 10.2.1
จงอ ธิบายส ถานะแ ละบทบาทข องขบวนการเคลอ่ื นไหวภาคประชาส ังคมในสงั คมโลกป ัจจุบัน
แนวต อบก จิ กรรม 10.2.1
ขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมในสังคมโลกจะมีสถานะเป็นกลุ่มที่ทำหน้าที่ในการสร้าง
วฒั นธรรมก ารต อ่ ต า้ นห รอื ข ดั ขนื โดยมวี ตั ถปุ ระสงคท์ ห่ี ลากห ลายมาก เชน่ เพอ่ื ร ะดมค น เพอ่ื ย กร ะดบั จ ติ สำนกึ
การร บั ร ู้ของประชาชนในเรื่องท่ตี ่อตา้ นหรือขัดขนื หรือเพื่อส รา้ งค ณุ ค่าค วามเชือ่ ชุดใหม่ ขณะเดยี วกันก็เพอื่ ล ด
ความช อบธ รรมข องร ะบบท ด่ี ำรงอ ยู่ โดยเฉพาะอ ยา่ งย งิ่ ก ารล ดค วามช อบธ รรมข องอ ำนาจร ฐั ในร ปู ข องก ารใชส้ ทิ ธิ
ทจ่ี ะไมเ่ ชอื่ ฟ งั ร ฐั ห รอื อ ารยะข ดั ขนื (Civil Disobedience) เปน็ ตน้ แตท่ ส่ี ำคญั ย งิ่ ก วา่ น น้ั ก ค็ อื ว า่ วฒั นธรรมต อ่ ตา้ น
หรือขัดขืนของขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมรูปแบบใหม่พุ่งเป้าไปท่ีการเรียกร้องให้หน่วยงานของรัฐ
ต้องรับผิดชอบต่อการกระทำของตนที่มีผลกระทบต่อประชาชนหรือสังคมในวงกว้าง (Accountability) มิใช่
ทำต ามท ตี่ นเองต อ้ งการไดท้ กุ อ ยา่ ง หรอื ใชอ้ ำนาจเกนิ ข อบเขตท ม่ี ี เปน็ การเคลอ่ื นไหวท ตี่ อ้ งการจ ะอ ดุ ช อ่ งว า่ งใน
สว่ นท ร่ี ฐั แ ละอ งคก์ ารร ะหวา่ งป ระเทศท ำไมไ่ ด้ หรอื ไมม่ คี วามต อ้ งการจ ะท ำ หรอื ก ารเรยี กร อ้ งใหป้ ระชาชนเขา้ ไป
มีบทบาทในระดับข องการต ัดสนิ ใจในอ งค์กร สถาบนั ทจี่ ดั ร ะบบร ะเบยี บเศรษฐกิจโลก เปน็ ตน้
52 Lador Lederer, International Non-Governmental Organization and Economic Entities. Leyden Sythoff, 1963,
p. 217.; G. Clarke, The Politics of NGOs in South-east Asia: Participation and Posttest: The Philippines. London: Routledge,
1998, p. 17.
53 J. Farrington, D. Lewis, S. Satish., and Miclateves, eds., Non-Governmental Organization and The State in Asia.
London: Routledge, 1995, p. 55.
ลขิ สิทธิข์ องมหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช