Page 273 - สังคมโลก
P. 273
ขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมในสังคมโลก 10-33
ได้ก่อให้เกิดรูปแบบใหม่ของขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคม โดยสร้างเครือข่ายผ่านการสื่อสารในแนวราบ
ซึ่งจะแตกต่างจากรูปแบบของการขับเคลื่อนในโลกสมัยก่อน การใช้อินเทอร์เน็ตเป็นการกระตุ้นการกระจายตัวของ
เครือข ่ายท ี่ม ีล ักษณะเป็นท ้องถ ิ่นแ ละก ระจายอ อกจ ากศ ูนย์กลาง ขยายเติบโตอ อกไปส ู่ในร ะดับโลก ซึ่งผ ลในท ้ายท ี่สุด
ก็ค ือ รูปแบบใหม่ข องก ารเข้ามาม ีส ่วนร่วมในขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาส ังคม
ความเปลี่ยนแปลงในโลกเข้าสู่ย ุคโลกาภิวัตน ์ ทำให้ข บวนการเคลื่อนไหวภ าคป ระชาสังคมมีบ ทบาทสัมพันธ์
กับป ระเด็นส าธารณะทั้งในม ิติท างด้านการเมือง เศรษฐกิจ และส ังคม กล่าวคือ
มติ ดิ า้ นก ารเมอื ง การเปลี่ยนผ ่านข องส ังคมโลกจ ากช ่วงส งครามเย็น (ค.ศ. 1945-1989) เข้าส ู่ย ุคห ลังส งคราม
เย็น (ค.ศ. 1990-ปัจจุบัน) จากการล่มส ลายข องร ะบอบค อมมิวนิสต์ในย ุโรปต ะวันอ อก ใน ค.ศ. 1989 การล ่มส ลาย
ของสหภาพโซเวียต ใน ค.ศ. 1991 เท่ากับเป็นการยุติสงครามเย็นที่เป็นความขัดแย้งด้านอุดมการณ์ และทำให้เกิด
ความเปลี่ยนแปลงของโลก จนโลกไม่อาจกลับไปสู่ความขัดแย้งในรูปแบบเดิม ดังที่ปรากฏในผลงานการสิ้นสุดของ
ประวัติศาสตร์ (The End of History) ของฟ ร านซ ิส ฟูก ูย าม า (Francis Fukuyama) และเข้าส ู่โลกใหม่ด ังผ ลง านค ลื่น
ลูกที่ส าม (The Third Wave) และป รากฏความข ัดแย้งดังผลงานการป ะทะทางอ ารยธรรม (The Clash of Civiliza-
tion) ของแ ซมม วล ฮนั ต งิ ต นั (Samuel Huntington) โดยน ัยห นึง่ เทา่ กบั เปน็ ช ยั ชนะข องร ะบอบป ระชาธิปไตย ทีม่ ลี ัทธิ
เสรนี ยิ มแ ละท นุ นยิ มอ ยเู่ บือ้ งห ลงั แตท่ า่ มกลางย คุ แ หง่ ค วามท นั ส มยั ท ปี่ รากฏในร ะบอบก ารป กครองแ บบป ระชาธปิ ไตย
ปรากฏการณ์ในโลกย ุคโลกาภ ิวัตน ์ท ำให้เกิดการป ลดปล่อยความข ัดแ ย้งแ บบเดิมที่เคยถูกกดท ับเก็บกดป ิดกั้นก ลาย
เป็นป ระเดน็ ท างการเมอื งใหม่ เช่น เพศ สผี วิ เชื้อช าติ คนช ายข อบ สิง่ แ วดล้อม ศาสนา เป็นต้น ทีอ่ ยูน่ อกเหนือก ารน ิยาม
ตามความห มายข องก ารเมืองแบบเดิม ทำให้ระบบก ารเมืองแบบเดิมไม่ส ามารถตอบค ำถามได้ นอกจากนี้ก ระบวนการ
ทางการเมืองแ บบเดิม ที่เน้นก ารเลือกต ั้ง การม ีส ่วนร ่วมท างการเมืองแ บบเดิม ทำให้เกิดค ำถามถ ึงป ระสิทธิภาพในก าร
จัดการค วามข ัดแ ย้งแ ละค วามช อบธ รรมข องส ถาบันท างการเมืองแ บบเดิม ในก ารแ ก้ไขป ัญหาท ีม่ คี วามย ุ่งย ากม ากกว่า
สลับซับซ้อนม ากกว่า และม ีขอบเขตกว้างข วางก ว่า ทำให้เป็นป รากฏการณ์ก ารต ่อสู้ระหว่างระบอบป ระชาธิปไตยแ บบ
ตัวแทน (representative democracy) และระบอบป ระชาธิปไตยแ บบเปิดก ว้าง (dialogic democracy) ที่ให้ค วาม
สำคญั ก บั ค วามห ลากห ลาย การเปดิ ก วา้ ง การเปลีย่ นแปลงอ ยา่ งถ อนร ากถ อนโคน บนพ ืน้ ฐ านข องก ารก ำหนดอ ตั ล กั ษณ์
ที่อ ยู่บ นช ุดค วามส ัมพันธแ์ บบใหม่ เช่น ความเป็นท ้องถ ิ่นน ิยม (localization) เป็นต้น ทำใหเ้กิดก ารเมืองใหม่ ที่ม ุ่งเน้น
การสร้างพื้นที่ทางการเมือง (political sphere) การสร้างป ระชาส ังคม (civil society) เป็นต้น ที่มีลักษณะแตกต ่าง
จากก ารเมืองแ บบเดิม และม ีข อบเขตกว้างขวางด ้วยการส ร้างเป็นเครือข่ายค รอบคลุมทั่วท ั้งโลก
ขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคม จึงมีท ั้งขบวนการแ บบเดิมที่ป รากฏก ่อนการส ิ้นสุดสงครามเย็น และ
ขบวนการถ ือก ำเนิดภายห ลังการส ิ้นสุดของส งครามเย็นในช่วงเวลาแห่งค วามเปลี่ยนแปลงเข้าสู่ยุคหลังส มัยใหม่ ที่ม ี
ลักษณะสำคัญ ประกอบด้วย การนิยามขบวนการน อกเหนือจากความข ัดแย้งท างชนชั้นตามแนวทางข องมาร์กซ์ การ
รวมก ันเป็นกล ุ่มน อกเหนือจ ากก ารเป็นกล ุ่มผ ลป ระโยชน์ พรรคการเมือง หรือส ถาบันท างการเมืองในร ะบบอ ื่นใด การ
ปฏิเสธการเข้าสู่อำนาจรัฐหรือให้ความเชื่อถือกับสถาบันทางการเมืองในการแก้ไขปัญหา และการกำหนดกติกาหรือ
ความส ัมพันธ์ชุดใหม่เพื่อความเป็นธรรมในการด ำรงช ีวิต55
ขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมในระดับระหว่างประเทศซึ่งเกี่ยวข้องกับประเด็นสาธารณะในมิติทาง
การเมืองที่สำคัญ ตัวอย่างแรก ขบวนการต่อต้านสงครามที่เป็นขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมที่ใหญ่ที่สุด
ขบวนการห นึ่งแ ละม เีครือข ่ายอ ยูท่ ั่วโลก เป็นเครือข ่ายท ีถ่ ือก ำเนิดภ ายห ลังก ารท ีส่ หรัฐอเมริกาถ ูกโจมตจี ากก ลุ่มก ่อการ
ร้ายภ ายห ลังว ันที่ 11 กันยายน ค.ศ. 2001 ทำให้สหรัฐอเมริกาก วาดล้างก ลุ่มก ่อการร ้ายด ้วยก ารจัดการกับประเทศท ี่
55 ไชยร ัตน์ เจริญส ินโอฬาร ขบวนการเคลื่อนไหวภ าคป ระชาส ังคมร ูปแ บบใหม่ ขบวนการเคลื่อนไหวป ระชาส ังคมในต ่างป ระเทศ หน้า 2
ลขิ สิทธิข์ องมหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าช