Page 278 - สังคมโลก
P. 278
10-38 สังคมโลก
เชื่อของลัทธิโอมชินริเคียว (Aum Shinrikyo) ที่ทำให้ชาวญี่ปุ่นเสียชีวิตจำนวน 12 คน บาดเจ็บกว่า 5,000 คน
ภายหลังการปล่อยก๊าซพ ิษท ี่ป ระกอบด้วยส ารซาร ินเข้าไปในสถานีร ถไฟใต้ดิน ใน ค.ศ. 1995 หรือความเชื่อจากลัทธิ
ฟาหลุนกง ทำให้ชาวฮ่องกงจำนวนหนึ่งใช้เป็นเครื่องมือในการต่อต้านการปกครองของสาธารณรัฐประชาชนจีน และ
ทางการได้ตอบโต้ด้วยการจับกุมผู้นำถือภายหลังเผยแพร่เข้าสู่จีน และลดความน่าเชื่อถือด้วยการเผยแพร่ภาพทาง
โทรทัศน์ภ ายห ลังจ ากที่เด็กชาว จีนที่น ับถือล ัทธิเสียชีวิตจากไฟไหม้ที่พักตามค วามเชื่อด ้วยการฆ ่าตัวต าย เป็นต้น
การกล ับม าข องแ นวคิดแ บบด ั้งเดิม (Fundamentalism) ของศ าสนาบ างศ าสนา ทำให้เกิดค วามร ู้สึกถ ึงค วาม
แตกต ่างจ ากค วามเป็นอ ยู่แ บบเดิม เช่น การกล ับม าข องศ าสนาอ ิสลามแ บบด ั้งเดิม ทำให้ป ระเทศห ลายป ระเทศต ่อต ้าน
เช่น ฝรั่งเศส ทีป่ ระธานาธบิ ดีแ ละร ฐั สภาใหค้ วามเหน็ ช อบร า่ งก ฎหมายท ีห่ า้ มเดก็ น กั เรยี นห ญิงม ุสลิมค ลมุ ศ ีรษะอ นั เป็น
หลักปฏิบัติข องศ าสนาเข้าโรงเรียน ใน ค.ศ. 2004 เป็นต้น ทำให้รัฐบาลแ ละข บวนการเคลื่อนไหวท างศ าสนาอ ิสลาม
ทั่วโลกต่างต่อต้านนโยบายของรัฐบาลฝรั่งเศส เป็นต้น ขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมทางด้านศาสนาและ
ความเชื่อจึงนับเป็นตัวแสดงที่สำคัญในการสร้างความร่วมมือหรือความขัดแย้ง และมีผลกระทบต่อประเทศใด
ป ระเทศหนึ่ง เพราะการน ับถือศ าสนาของค นกลุ่มใดก ลุ่มห นึ่งในป ระเทศห นึ่งทำให้คนก ลุ่มนั้นกลายเป็นชนกล ุ่มน้อย
(minority group) และทำให้ขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมของศาสนาและความเชื่อนั้นเรียกร้องให้มีการ
เปลี่ยนแปลงทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมของประเทศนั้น จนอาจเป็นผลให้มีความเปลี่ยนแปลงตามมา ดังที่
เคยป รากฏในประเทศอ ิหร่านท ี่ม ีก ารเปลี่ยนแปลงจากพ ระเจ้าช าห์ม าเป็นไอยาตอลลาร์ โคไมนี ใน ค.ศ. 1979 เป็นต้น
การเปลี่ยนแปลงข องส ังคมโลกเข้าส ูโ่ลกาภ วิ ัตน ท์ ำใหข้ บวนการเคลื่อนไหวภ าคป ระชาส ังคมต ่างม บี ทบาทเพิ่ม
ขึ้นทั้งมิติทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม โดยมีการนำประเด็นปัญหา มาเป็นตัวขับเคลื่อนความเคลื่อนไหว
เป็นที่น่าส ังเกตว ่า ความเกี่ยวโยงแ ละความสัมพันธ์ของป ระเด็นปัญหาแ ต่ละประเด็น ทำให้ขบวนการเคลื่อนไหวภาค
ประชาส ังคมต ่างเคลื่อนไหวโยงใยก ับป ัญหาห ลายส ่วนท ีเ่กี่ยวข้อง เช่น กลุ่มส ันติภาพเขียวท ีใ่หค้ วามส ำคัญก ับน โยบาย
ของร ัฐบาลในป ระเทศแ ต่ละประเทศแ ละอ งค์การระหว่างประเทศ ขบวนการต ่อสู้เพื่อความย ุติธรรมของโลก นอกจาก
จะม ีว ัตถุประสงค์ห ลักในการต่อต ้านโลกาภ ิว ัตน ์ ยังมีความพยายามในก ารส ถาปนาประชาธิปไตยแบบม ีส่วนร่วมห รือ
แบบเข้มข ้น เพื่อให้ป ระชาชนในร ะดับรากหญ้าม ีส ่วนร ่วมในการต ัดสินใจ ซึ่งเป็นเรื่องการเมือง และความหลากห ลาย
ที่ไม่ใช่เป็นโลกใบเดียว ซึ่งเป็นได้ท ั้งท างด ้านก ารเมือง เศรษฐกิจ และส ังคม หรือบ ทบาทข องข บวนการเคลื่อนไหวภ าค
ประชาส ังคมด ้านศ าสนา ที่มีความสัมพันธ์อ ย่างใกล้ชิดกับก ารเมืองการป กครอง เป็นต้น
กิจกรรม 10.2.2
จงอธิบายความสัมพันธ์ของขบวนการเคล่ือนไหวภาคประชาสังคมกับความเปลี่ยนแปลงของสังคม
โลกม าพอสงั เขป
แนวตอบกจิ กรรม 10.2.2
การเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกเข้าสู่โลกาภิวัตน์ทำให้ขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมต่างมี
บทบาทเพ่ิมขึ้นท้ังมิติทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม โดยมีการนำประเด็นปัญหา มาเป็นตัวขับเคล่ือน
ความเคลื่อนไหว เป็นที่น่าสังเกตว่า ความเก่ียวโยงและความสัมพันธ์ของประเด็นปัญหาแต่ละประเด็น ทำให้
ขบวนการเคลอ่ื นไหวภ าคประชาส ังคมต า่ งเคลอื่ นไหวโยงใยกบั ป ัญหาหลายส ว่ นทเี่ กี่ยวขอ้ ง เชน่ กลมุ่ สนั ติภาพ
เขียวท่ีให้ความสำคัญกับนโยบายของรัฐบาลในประเทศแต่ละประเทศและองค์การระหว่างประเทศ ขบวนการ
ตอ่ สู้เพื่อค วามยุตธิ รรมของโลก นอกจากจ ะมีว ตั ถุประสงคห์ ลกั ในก ารต่อต ้านโลกาภ ิวัตน ์ ยังม ีความพยายามใน
ลิขสทิ ธิข์ องมหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช