Page 281 - สังคมโลก
P. 281
ขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมในสังคมโลก 10-41
ไปกับภาครัฐและภาคธุรกิจ71 โดยทำหน้าที่ถ่วงดุลกำกับหรือตรวจสอบการดำเนินงานของภาครัฐ และภาคธุรกิจ
ให้เกิดความชอบธรรม รวมทั้งส่งเสริมให้พลเมืองมีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคมเพื่อชีวิตสาธารณะที่มีคุณภาพดี72
แต่ในทางตรงกันข้าม ก็ยังมีหลายคนที่ตั้งข้อสงสัยว่า ขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมไม่มีศักยภาพเพียงพอ
ที่จะแสดงบทบาทในฐานะคู่กรณีที่มาคานอำนาจของภาครัฐ ส่วนกรณีของประเทศไทยนั้น ขบวนการเคลื่อนไหว
ภาคป ระชาสังคมถ ูกม องว ่าม ีน ัยสำคัญอ ยู่ท ี่ค วามเป็นอ ิสระ และพยายามท ี่จะไม่ถูกครอบงำโดยรัฐด้วยก ารห ลีกเลี่ยง
การจ ดทะเบียน73
ยุทธศาสตร์ก ารเคลื่อนไหวท างการเมืองข องข บวนการเคลื่อนไหวภ าคป ระชาส ังคมน ั้นแ บ่งได้เป็น 3 ลักษณะ
คือ74
1) แนวคิดเรื่อง “การเมืองว ่าด ้วยเรื่องความร ่วมมือ” (a politics of co-operation) หรือย ุทธศาสตร์
การร ่วมม ือก ับร ัฐ โดยข บวนการเหล่าน ีจ้ ะย อมรับก ารท ำงานร ่วมห รือก ารม สี ่วนร ่วมก ับภ าคร ัฐ โดยเฉพาะก ระบวนการ
กำหนดน โยบายด า้ นก ารพ ฒั นา แตจ่ ะไมเ่ ขา้ ไปแ ทรกแซงก ระบวนการท างการเมอื ง ซึง่ ม องว า่ การไมย่ ุง่ เกีย่ วก บั ก ารเมอื ง
แตร่ ่วมม อื ก บั ภ าคร ัฐน ัน้ เปน็ ว ธิ กี ารส ำคัญท ปี่ กป้องก จิ กรรมข องข บวนการใหป้ ลอดจ ากก ารแ ทรกแซงโดยร ัฐ และส รา้ ง
ความเชื่อมั่นต ่อประชาชนว ่าไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งข องกลไกร ัฐหรือไม่ได้สนับสนุนพ รรคการเมืองห นึ่งพ รรคการเมืองใด
2) แนวคิดเรื่อง “การเมืองของการระดมพลังของรากหญ้า” (a politics of grassroots mobiliza-
tion) หรือย ุทธศาสตร์ก ารค ัดค้านร ัฐ โดยข บวนการเหล่าน ีจ้ ะใหค้ วามส ำคัญต ่อก ารว ิพากษ์ว ิจารณ์น โยบายข องร ัฐ การ
ทำหน้าที่ตรวจสอบคัดค้านการใช้อำนาจของกลไกรัฐ ขบวนการที่มีลักษณะเช่นนี้จะให้ความสำคัญต่อการรวมกลุ่ม
จัดต ั้งประชาชนในร ะดับร ากหญ้าเพื่อส นับสนุนการเคลื่อนไหวเชิงนโยบายระดับช าติ
3) แนวคิดเรื่อง “การเสริมสร้างเข้มแข็งของคนชั้นล่าง” (empowerment from below) หรือ
ยุทธศาสตร์การไม่สนใจรัฐ โดยขบวนการเหล่านี้เชื่อว่า การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและการเมืองจะขึ้นอยู่กับการพึ่ง
ตนเองของประชาชน มากกว่าการปฏิรูปเชิงโครงสร้างการเมืองจากรัฐหรือรัฐบาลระดับชาติ ขบวนการเหล่านี้จะเน้น
กิจกรรมเพื่อเสริมส ร้างจ ิตสำนึกในก ารพ ิทักษ์ส ิทธิข องต นส ร้างค วามเชื่อม ั่นแ ละท ักษะในห มู่ป ระชาชนร ะดับล ่าง เพื่อ
ที่จ ะทำให้พ วกเขาส ามารถแก้ไขปัญหาข องตนได้ด ้วยต นเอง
ส่วนฟ ิลปิ แอลไรด์ (Philip J. Eldridge) ไดแ้ บง่ ค วามส ัมพันธต์ ามล ักษณะก จิ กรรมแ ละแ นวทางในก ารท ำงาน
ของข บวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมในประเทศก ำลังพ ัฒนาอ อกเป็น 3 ลักษณะ ดังน7ี้ 5
1. ลักษณะที่เป็นแบบร่วมมือกัน (co-operation) ขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมที่ยอมรับลักษณะ
ความส มั พนั ธแ์ บบน ีจ้ ะย อมรับก ารม สี ว่ นร ่วมก ับภ าคร ัฐ แตไ่ มส่ นใจท ีจ่ ะเขา้ ไปเปลี่ยนแปลงห รอื แ ทรกแซงก ระบวนการ
ทางการเมือง โดยม องว ่าการไม่ย ุ่งเกี่ยวก ับก ารเมืองแ ตร่ ่วมม ือก ับภ าคร ัฐน ั้น เป็นว ิธกี ารท ีส่ ำคัญในก ารป กป้องเสรีภาพ
71 Naruemon Thabchupon, “NGOs and political reform in Thailand: Adding grassroots democracy in Thai civil
society,” Paper presented at the 7th International Conference on Thai Studies, Amsterdam, The Netherlands, 4–8 July,
1999, p.3.
72 อนุชาติ พวงสำลี อาภรณ์ จันทร์สมวงศ์ และพีรพัฒน์ โกศลศักดิ์สกุล “บทสังเคราะห์ความเคลื่อนไหวของภาคีอันหลากหลายใน
ขบวนการป ระชาส ังคมไทย” ใน ขบวนการป ระชาส ังคมไทย: ความเคลื่อนไหวภ าคพ ลเมือง อนุชาต ิ พวงส ำลี และก ฤตยา อาช วน ิจก ุล บรรณาธิการ
(กรุงเทพมหานคร โครงการวิจัยและพัฒนาป ระชาสังคม มหาวิทยาลัยม หิดล 2542 หน้า 287
73 Jurgen Ruland, and M.L. Bhansoon Ladavalya. Local associations and municipal government in Thailand.
Freiburg: Arnold-Bergstraesser-Institut, 1993, p. 60.
74 P. Eldridge, NGOs and Democratic Participation in Indonesia. (Oxford: Oxford University Press, 1995 pp. 33-35.
75 Philip J. Eldridge, Non-government organizations and democratic participation in Indonesia. Oxford: Oxford
University Press, 1995, pp. 36-38.
ลิขสิทธขิ์ องมหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช