Page 285 - สังคมโลก
P. 285

ขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมในสังคมโลก 10-45

เรื่อง​ท่ี 10.3.1
ปัญหา​และ​อุปสรรค​ของข​ บวนการ​เคล่ือนไหว
​ภาค​ประชา​สงั คมใ​น​สังคมโ​ลก

       ขบวนการเ​คลือ่ นไหวภ​ าคป​ ระชาส​ งั คมย​ อ่ มม​ ท​ี ัง้ ก​ ารเ​คลือ่ นไหวท​ ปี​่ ระสบผ​ ลส​ ำเรจ็ แ​ ละไ​มป​่ ระสบผ​ ลส​ ำเรจ็ หรอื ​
บาง​ครั้ง​อาจ​มี​ผลท​ ำให้​การ​เคลื่อนไหวห​ ยุด​ชะงักง​ ัน ซึ่ง​อาจม​ ีส​ าเหตุม​ า​จากป​ ัจจัยห​ ลักส​ อง​ประการด​ ้วยก​ ัน คือ

1. 	ปญั หาและอปุ สรรค​ที่เ​กิดจ​ ากป​ ัจจัยภ​ ายใน​ของข​ บวนการเ​คล่อื นไหวภ​ าคป​ ระชาส​ ังคม

       ปัญหาและอุปสรรค​ที่​เกิด​จาก​ระดับ​จิตสำนึก (consciousness) แนวคิดท​ ี่​นำ​มา​สู่​การ​ก่อเ​กิด การพ​ ัฒนาการ
ได้แก่ การ​เข้า​มา​ให้​ข้อมูล​เกี่ยว​กับ​เรื่อง​ที่​จำเป็น​ต้อง​มี​การ​เปลี่ยนแปลง​ของ​ผู้​ริเริ่ม​การ​เคลื่อนไหว ซึ่ง​อาจ​เกิด​จาก
​การ​ชี้นำ​หรืออ​ าจ​เป็นการ​ชี้แนะ หรือ​สะท้อนม​ ุมม​ อง​ให้ก​ ับก​ ลุ่มเ​คลื่อนไหว ไม่​สามารถ​ก่อ​ให้​เกิด​ความน​ ่าเ​ชื่อ​ถือ หรือม​ี
ความร​ ู้สึก​ร่วมไ​ด้เ​พียงพ​ อ

       ปัญหา​และอุปสรรค​ด้าน​ภาวะ​ผู้นำ (leadership)  ด้าน​บุคคล/แกน​นำ/สมาชิก ของ​กลุ่ม​เคลื่อนไหว​ที่​ไม่มี​
ภาวะผ​ ู้นำเ​พียงพ​ อ อาจท​ ำให้ผ​ ู้เ​ข้าร​ ่วมห​ รือป​ ระชาชนภ​ ายนอกม​ องว​ ่าข​ บวนการเ​คลื่อนไหวไ​ม่มีค​ วามเ​ข้มแ​ ข็งเ​ท่าท​ ี่ค​ วร
เช่น ผู้นำไ​ม่​ได้เ​ป็นผ​ ู้ม​ ี​ความ​รู้ ไม่​ได้​เป็น​ที่เ​คารพใ​นแ​ ง่​คุณธรรม/อำนาจ​ที่​ได้​รับ​การย​ อมรับ​ศรัทธา​มา​ก่อน หรือเ​กิด​จาก​
การม​ องใ​น​ภาพ​ลักษณ์​ของ​บุคคล/แกนน​ ำ/สมาชิกข​ อง​กลุ่ม​เคลื่อนไหว ว่า​เป็นป​ ระชาชน​ธรรมดาท​ ี่​จะ​ไปต​ ่อสู้​กับร​ ัฐไ​ด้​
อย่างไร จึง​ทำให้ข​ าด​ความ​เชื่อม​ ั่น​ใน​สิ่งท​ ี่​กลุ่มเ​คลื่อนไหว

       ปัญหา​และอุปสรรค​ด้าน​การ​จัด​องค์กร (organization) การ​บริหาร​จัดการ การ​แบ่ง​ขั้ว​แห่ง​การ​ขยาย​ฐาน​
สมาชิกห​ รือพ​ ยายามแ​ บ่งข​ ั้วอ​ ย่างเ​ข้มข​ ้นเ​กินไ​ป เช่น มองว​ ่าถ​ ้าฝ​ ่ายใ​ดไ​ม่ใชฝ่​ ่ายต​ นจ​ ะต​ ้องเ​ป็นฝ​ ่ายต​ รงข​ ้าม หรือก​ ารข​ าด​
ความพ​ ยายามใ​นก​ ารจ​ ะด​ ึงก​ ลุ่มค​ นท​ ีเ่​ป็นกล​ างเ​ข้าม​ าเ​ป็นแ​ นวร​ ่วม รวมท​ ั้งใ​นแ​ งข่​ องส​ มาชิกใ​นก​ ารม​ สี​ ่วนร​ ่วมก​ ับก​ ลุ่มน​ ั้น
สมาชิกท​ ี่ม​ ีค​ วามเ​กี่ยวข้องก​ ับผ​ ู้นำก​ ลุ่มน​ ้อยอ​ าจไ​ม่มีอ​ ำนาจใ​นก​ ารข​ ับเ​คลื่อนก​ ลุ่ม และว​ ัยห​ รือช​ ่วงอ​ ายุข​ องส​ มาชิกก​ ลุ่ม​
ก็ม​ ีผ​ ล​ต่อค​ วามส​ ำเร็จ​ของข​ บวนการ​เคลื่อนไหว​เช่นเ​ดียวกัน

2. 	ปัญหาและอปุ สรรค​ที​่เกิดจ​ ากป​ ัจจัย​ภายนอก​ของ​ขบวนการ​เคลือ่ นไหว​ภาคป​ ระชาส​ ังคม

       ปญั หา​และ​อปุ สรรค​ท​เ่ี กดิ ​จาก​มวลชน​นอก​กลมุ่ ​เคลอ่ื นไหว​ม​อี ทิ ธพิ ล​ตอ่ ​ขบวนการ​เคลอ่ื นไหว​ภาค​ประชา​สงั คม​
อยูไ่​ มน่​ อ้ ย เพราะเ​ป้าห​ มายข​ องข​ บวนการเ​คลือ่ นไหวภ​ าคป​ ระชาส​ งั คมค​ อื ก​ ารด​ ึงม​ วลชนใ​หม​้ แ​ี นวคิดร​ ่วม แตม​่ ป​ี ระชาชน​
บาง​ส่วน​ที่​ไม่​เห็น​ด้วย​กับ​การ​เคลื่อนไหว​ดัง​กล่าว ซึ่ง​อาจ​ก่อ​ให้​เกิด​ขบวนการ​เคลื่อนไหว​ต่อ​ต้าน​ขบวนการ​เคลื่อนไหว​
อีก​ทีห​ นึ่ง

       ปญั หา​และ​อปุ สรรค​ท​เ่ี กดิ ​จาก​ความ​เขม้ ​แขง็ ​และ​การ​กดดนั ​จาก​ภาค​รฐั หรอื ​บรษิ ทั ​ทนุ ​ขา้ ม​ชาต​ทิ ​ม่ี ​คี วาม​เขม้ แขง็ ​
มากกว่า ใน​ภาวะ​สถานการณ์​โลก​ปัจจุบัน ความ​เข้ม​แข็ง​ของ​รัฐ​หรือ​บริษัท​ทุน​ข้าม​ชาติ​ที่​กุม​อำนาจ​อยู่​ใน​มือ ยิ่ง​ทำให้​
อำนาจ​การต​ ่อร​ อง หรือก​ ารเ​ข้าถ​ ึงก​ ระบวนการต​ ัดสิน​ใจ ผลัก​ดัน เคลื่อนไหว คัดค้าน ต่อต​ ้าน​ต่อ​นโยบายข​ องภ​ าค​รัฐ​ม​ี
ความย​ ุ่งย​ ากล​ ำบากม​ ากย​ ิ่งข​ ึ้น และเ​นื่องด​ ้วยโ​ครงสร้างอ​ ำนาจท​ ีร่​ วมอ​ ำนาจไ​วท้​ ีศ่​ ูนย์กลางน​ ั่นค​ ือร​ ัฐ นำม​ าส​ ูส่​ ัมพันธภาพ​
ทาง​อำนาจ​ที่​ไม่​สมดุลก​ ันร​ ะหว่างภ​ าค​รัฐ เอกชน และป​ ระชาชน จึง​ทำให้พ​ ื้นที่​สาธารณะ (public sphere) ลด​น้อยล​ ง​
ไป ไม่มี​พื้นที่​ให้ก​ ับพ​ ลังข​ อง​ขบวนการ​เคลื่อนไหวภ​ าค​ประชา​สังคม​เท่าท​ ี่​ควร อัน​นำ​มา​ซึ่ง​การต​ ่อสู้​เคลื่อนไหวผ​ ่าน​โลก​
ออนไลน์ด​ ังท​ ี่​ได้​กล่าวไ​ป​แล้ว

                              ลขิ สทิ ธข์ิ องมหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราช
   280   281   282   283   284   285   286   287   288   289   290