Page 289 - สังคมโลก
P. 289

ขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมในสังคมโลก 10-49

เรือ่ ง​ท่ี 10.3.2
การ​ปรบั ​ตวั ข​ อง​ขบวนการเ​คลือ่ นไหวภ​ าค​ประชาส​ ังคมใ​นส​ ังคมโ​ลก

       ขบวนการเ​คลื่อนไหวภ​ าคป​ ระชา​สังคม​ไม่ว​ ่าจ​ ะ​เป็นใ​นแ​ ง่​เศรษฐกิจ การเมือง สังคม หรือส​ ิ่ง​แวดล้อม จำเป็น​
ต้องม​ ีก​ าร​ปรับ​ตัว​ให้เ​ข้า​กับย​ ุคส​ มัย​ของส​ ังคม​โลกท​ ี่​เปลี่ยนแปลงไ​ป เพื่อ​ที่​จะไ​ด้​รับ​การส​ นับสนุนจ​ ากม​ วลชนแ​ ละ​ทำให​้
การเ​คลือ่ นไหวป​ ระสบค​ วามส​ ำเรจ็ เทคโนโลยด​ี า้ นข​ ้อมลู แ​ ละก​ ารส​ ือ่ สารไ​ดช​้ ่วยท​ ำใหก​้ ารกร​ ะท​ ำร​ วมห​ มูเ่​กดิ ข​ ึ้นไ​ดง​้ ่ายใ​น​
แบบท​ ี่ไ​มเ่​คยเ​ป็นม​ าก​ ่อนใ​นอ​ ดีต แม้ว่าบ​ รรยากาศท​ างการเ​มืองท​ ี่แ​ ผ่ข​ ยายอ​ อกไ​ปจ​ ะม​ ีอ​ ิทธิพลอ​ ย่างม​ ากต​ ่อค​ วามสำเร็จ​
หรือ​ล้ม​เหลว​ของ​ขบวนการ​เคลื่อนไหว​ภาค​ประชา​สังคม แต่​อินเทอร์เน็ต​ได้​สามารถ​ทำให้​กลุ่ม​ที่​มี​อำนาจ​น้อย​กว่า​มี​
กระบอกเ​สียงข​ องต​ นเองไ​ด้ ดังน​ ั้น ขบวนการเ​คลื่อนไหวภ​ าคป​ ระชาส​ ังคมใ​นอ​ นาคตจ​ ำนวนไ​มน่​ ้อยจ​ ำเป็นจ​ ะต​ ้องพ​ ึ่งพา​
การ​สื่อสาร​ผ่าน​โลกอ​ อนไลน์​ซึ่งก​ ็ค​ ือ​สื่ออ​ ินเทอร์เน็ตน​ ั่นเอง

       อินเทอร์เน็ต​เป็น​ศูนย์​รวม​การ​สื่อสาร​ทุก​รูป​แบบ​ทั้ง​แบบ​ที่​อาศัย​ความ​ร่วม​มือ​กัน​ของ​เครือ​ข่าย โดย​หลัก​การ​
แลว้ ตัวเ​ทคโนโลยเี​องน​ ัน้ ม​ ลี​ กั ษณะท​ เี​่ ป็นกล​ าง แตช​่ อ่ งท​ างในก​ ารแ​ สดงออกน​ ั้นอ​ าจม​ ไ​ี ดท้​ ัง้ ใ​นท​ างบ​ วกแ​ ละท​ างล​ บ กลา่ ว​
อกี น​ ยั ห​ นึง่ ก​ ค​็ อื ไซเ​บอรส​์ เปซเ​ปน็ ส​ ถานท​ ที​่ คี​่ นซ​ ึง่ ม​ ค​ี วามส​ นใจห​ ลากห​ ลายซ​ ึง่ ร​ วมไ​ปถ​ งึ ผ​ ทู​้ มี​่ ค​ี วามค​ บั ข​ อ้ งใจอ​ ยา่ งร​ นุ แรง​
ต่อส​ ถานก​ าร​ ณใ์​ดๆ ในส​ ังคม มาอ​ ยูร่​ วมก​ ัน และแ​ สดงออกถ​ ึงค​ วามไ​มพ่​ อใจน​ ั้นร​ ่วมก​ ัน อย่างไรก​ ็ตาม กระบวนการแ​ ละ​
วิธี​การ​ขับ​เคลื่อน​ขบวนการ​เคลื่อนไหว​ภาค​ประชา​สังคม​นั้น​ก็​ยัง​มี​ความ​ใกล้​เคียง​กับ​ขบวนการ​เคลื่อนไหว​ภาค​ประชา​
สังคมใ​นโ​ลกจ​ ริง  ทั้งใ​นแ​ ง่ข​ องเ​ป้าห​ มาย แนวคิด ทฤษฎแี​ ละข​ ้อส​ รุปซ​ ึ่งแ​ สดงใ​หเ้​ห็นว​ ่า ขบวนการเ​คลื่อนไหวภ​ าคป​ ระชา​
สังคมไ​ด้ม​ ีก​ ารป​ รับ​ตัวจ​ าก​รูป​แบบข​ องก​ ารร​ วม​ตัวก​ ัน​ในท​ ้อง​ถนน​ไปส​ ู่​การส​ ร้าง​เครือ​ข่าย​ผ่านส​ ื่อ​ออนไลน์​ทั่ว​โลก

       นัก​วิชาการ​ทาง​สังคมศาสตร์​พยายาม​ที่​จะ​วิเคราะห์​ช่อง​ทางใน​การ​สื่อสาร​เพื่อ​ทำความ​เข้าใจ​ว่า ประชาชน​จะ​
เคลื่อนไหว​ใน​การก​ระ​ทำ​รวม​หมู่​ได้​อย่างไร ทั้ง​ช่อง​ทาง ตัว​เนื้อหา​ของ​ข้อความ ผู้​กระทำ ซึ่ง​ส่ง​และ​รับ​ข้อมูล รวม​ทั้ง​
การ​ตอบส​ นองต​ ่อ​ข้อความ​ล้วน​แต่ม​ ี​บทบาท​สำคัญ​ใน​การ​จัด​ตั้ง​ขบวนการเ​คลื่อนไหว​ภาค​ประชาส​ ังคม

       แม้ว่า​ธรรมชาติ​ของ​การ​ขบวนการ​เคลื่อนไหว​ภาค​ประชา​สังคม​จะ​มี​ลักษณะ​เชิง​รับ (passive) โดย​ผู้​ที่​
เข้า​ร่วม​ต้อง​ค้นหา​สิ่ง​ที่​ตัว​เอง​ต้องการ​ด้วย​ตนเอง แต่​โดย​ทั่วไป​คน​จะ​พบ​ข้อมูล​ที่​ช่วย​เสริม​แรง​ต่อ​ความ​สนใจ​และ​
ความ​เชื่อ​ของ​ตนเอง อีเมล์ เว็บไซต์ แช็ท​ รูม บล็อก และ​เว็บบ​ อร์ด เป็น​รูป​แบบช​ ่อง​ทางการส​ ร้างข​ บวนการเ​คลื่อนไหว​
ภาคป​ ระชา​สังคมไ​ด้​ทุกข​นาด

       ขบวนการเ​คลื่อนไหวภ​ าคป​ ระชาส​ ังคมม​ คี​ วามจ​ ำเป็นอ​ ย่างย​ ิ่งท​ ีจ่​ ะต​ ้องป​ รับต​ ัวใ​หส้​ อดคล้องก​ ับส​ ภาพแ​ วดล้อม
โดยเ​ฉพาะอ​ ย่างย​ ิ่งใ​นก​ ารป​ รับต​ ัวใ​หเ้​ข้าก​ ับค​ วามส​ ัมพันธร์​ ะหว่างร​ ัฐแ​ ละข​ บวนการเ​คลื่อนไหวภ​ าคป​ ระชาส​ ังคมใ​นก​ ารท​ ี​่
รัฐ​จะย​ อมรับห​ รือป​ ฏิเสธก​ าร​ทำงาน​ของ​ขบวนการ​เคลื่อนไหว​ภาคป​ ระชา​สังคม ซึ่งเ​ป็น​ปฏิสัมพันธ์​ที่​ขึ้น​อยู่​กับล​ ักษณะ​
ประเภทแ​ ละบ​ ทบาทข​ องข​ บวนการเ​คลื่อนไหวภ​ าคป​ ระชาส​ ังคมส​ ่วนห​ นึง่ และอ​ ีกส​ ว่ นห​ นึง่ ข​ ึ้นอ​ ยูก่​ ับร​ ะบอบก​ ารป​ กครอง​
ของ​รัฐ​นั้นๆ โดยส​ ามารถ​แบ่ง​รัฐอ​ อก​เป็น 3 ประเภท กล่าวค​ ือ77

       รัฐป​ ระเภทแ​ รก  น​ ัน้ ม​ ลี​ ักษณะท​ เี​่ ป็นเ​ผดจ็ การ มท​ี หารเ​ปน็ ผ​ ปู้​ กครองท​ ผี​่ ูกขาดอ​ ำนาจ จะม​ องง​ านข​ องข​ บวนการ​
เคลื่อนไหว​ภาค​ประชา​สังคม​ทุก​ประเภท​ว่า​อยู่​นอก​กรอบ​ของ​การ​ปกครอง​หรือ​ระเบียบ​สังคม​ที่​ถูก​ต้อง​ตาม​กฎหมาย
ดัง​เช่น ขบวนการ​เคลื่อนไหว​ภาค​ประชา​สังคม​ใน​ฟิลิปปินส์​ใน​สมัย​เผด็จการ​ของ​ประธานาธิบดี​เฟอร์​ดิน​าน มาร์​กอส

         77 ราเ​จช แทนด​ อน ความส​ ัมพันธ์ร​ ัฐ-องค์กรเ​อกชน จุติแ​ ห่งช​ ีวิตห​ รือจ​ ุมพิตม​ รณะ แปลโ​ดย กวิน ชุติมา กรุงเทพมหานคร เอด​ ิส​ ัน เพรส​
โปร​ ดักส์ 2534 หน้า 18-21	

                              ลขิ สิทธิ์ของมหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช
   284   285   286   287   288   289   290   291   292   293   294