Page 290 - สังคมโลก
P. 290
10-50 สังคมโลก
จะถูกมองว ่าเป็นส ่วนห นึ่งข องพ ลังท างการเมืองท ี่คัดค้านระบอบเผด็จการม ากกว่าก ารเป็นขบวนการเคลื่อนไหวภ าค
ประชาส ังคม ความส ัมพันธ์ร ะหว่างร ัฐเผด็จการกับข บวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคม จะมีลักษณะความส ัมพันธ์
แบบที่ร ัฐม ีต ่อผ ู้เป็นปรปักษ์ท างการเมือง
รัฐป ระเภทท ีส่ องคือ รัฐท ีม่ รี ะบอบก ารป กครองแ บบพ รรคเดียว ซึ่งเป็นส ภาพท ั่วไปข องห ลายป ระเทศในท วีป
แอฟริกา รัฐจ ะยอมรับก ารทำงานด้านบริการและสวัสดิการของขบวนการเคลื่อนไหวภาคป ระชาสังคม แต่จะขัดขวาง
มิให้ข บวนการเคลื่อนไหวภ าคประชาสังคมท ำงานด้านก ารพ ัฒนาและเสริมส ร้างความเข้มแ ข็งให้กับป ระชาชน
ส่วนร ัฐป ระเภทท ีส่ าม คือ รัฐท ีป่ กครองด ้วยร ะบอบป ระชาธิปไตยแ บบห ลายพ รรค เป็นร ัฐเสรีนิยมท ีค่ ่อนข้าง
ลงตัวแล้ว เช่น ในศรีลังกา อินเดีย บราซิล เปรู ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคม
ประเภทต ่างๆ ซับซ้อนแ ละยากที่จะนิยาม เพราะในประเทศเหล่านี้ รัฐจ ะยอมรับบทบาทแ ละการท ำงานของข บวนการ
เคลื่อนไหวภ าคป ระชาส ังคมท ี่เกี่ยวข้องก ับก ารให้บ ริการและส วัสดิการ แต่ค วามส ัมพันธ์ก ับข บวนการเคลื่อนไหวภ าค
ประชาสังคมด้านการพัฒนาและการเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับประชาชนบางครั้งก็ยอมรับ บางครั้งก็ปฏิเสธโดย
การกล่าวหาว่าเป็นภ ัยค ุกคามต่อการดำเนินงานข องรัฐ
ดังนั้น ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐและขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคม ด้านหนึ่งจึงขึ้นอยู่กับลักษณะ
ของรัฐและอีกด้านหนึ่งขึ้นอยู่กับลักษณะของขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมเอง ในทุกประเทศที่มิได้อยู่ใต้
อำนาจเผด็จการร ัฐต่างก็ยอมรับ ต้อนรับ และให้ค วามส ำคัญกับข บวนการเคลื่อนไหวภาคป ระชาสังคมประเภทแรกที่
ทำงานให้บริการและด้านสวัสดิการ การบรรเทาทุกข์และการฟื้นฟูสภาพ รัฐส่วนมากล้วนไม่ชอบใจและไม่สนับสนุน
ขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมท ี่เน้นก ารเสริมส ร้างค วามเข้มแ ข็ง การจ ัดตั้งอ งค์กร การพ ัฒนา การส นับสนุน
หรือการสร้างเครือข่ายและการสร้างสหพันธ์ให้กับประชาชน แม้ในบางประเทศอย่างอินเดียหรือบังคลาเทศที่รัฐมี
การต อบส นองในท างพ อใจง านข องข บวนการเคลื่อนไหวภ าคป ระชาส ังคมอ ยู่บ้างก ็ตาม การต อบส นองเช่นน ี้เป็นเพียง
ครั้งค ราว ไม่เป็นหนึ่งเดียว สากล หรือยอมรับเป็นเอกภาพทั้งหมด ดังนั้นไม่ว่าลักษณะข องรัฐจะเป็นอ ย่างไรก็ย่อม
จะมีงานของขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมบางอย่างที่รัฐในประเทศยากจนไม่ชอบใจ ไม่สนับสนุน และ
ไม่ย อมรับให้ถ ูกต ้องต ามกฎหมาย
ในส ่วนของความสัมพันธ์ท ี่ข บวนการเคลื่อนไหวภาคป ระชาสังคมม ีต ่อร ัฐบาล สามารถแยกอ อกเป็น 4 ด้าน
กล่าวคือ78
1. การพึ่งพา เป็นความสัมพันธ์ที่มีลักษณะทั่วไปและโดดเด่นกว่าความสัมพันธ์แบบอื่นทั้งหมด คือความ
สัมพันธ์ที่ขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมอยู่ในฐานะขึ้นต่อพึ่งพา หรือเป็นผู้รับการอุปถัมภ์จากรัฐบาล การ
พึ่งพาร ับก ารอ ุปถัมภ์เช่นน ี้เกิดข ึ้นในส ถานการณ์ท ี่ข บวนการเคลื่อนไหวภ าคป ระชาส ังคมเป็นผ ู้ด ำเนินโครงการพ ัฒนา
ของร ัฐแ ละห น่วยง านข องร ัฐห รือร ับท ุนจ ากร ัฐ หรือท ั้งส องอ ย่าง เป็นการพ ึ่งพาท างค วามค ิด เงินท ุน และท รัพยากร การ
วิเคราะห์ประสบการณ์จากตัวแทนประเทศยากจนดูเหมือนจะบ่งชี้ว่า การให้ทุนจากรัฐบาลส่วนใหญ่ก็เพื่อโครงการ
และยุทธศาสตร์พัฒนาที่ร ัฐบาลเป็นผู้ต ระเตรียมขึ้นมาเองเท่านั้น ดังนั้น จึงเป็นการขึ้นต่อสมมติฐานและแบบแผนที่
รัฐบาลใช้ และในป ระเทศส ่วนใหญ่ท ี่ม ีท ุนส นับสนุนเช่นน ี้ ขบวนการเคลื่อนไหวภ าคป ระชาส ังคมท ี่ร ับท ุนม ักจ ะม ีค วาม
สัมพันธ์ในล ักษณะท ี่พ ึ่งพาข ึ้นต ่อร ัฐบาลแ ละเป็นผ ู้รับก ารอ ุปถัมภ์จ ากร ัฐบาล และค วามสัมพันธ์แ บบน ี้ม ีล ักษณะท ั่วไป
และแพร่หลายมากที่สุดในกลุ่มขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมประเภทที่ทำหน้าที่ให้บริการหรือทำงานด้าน
สังคมสงเคราะห์ โดยรัฐเป็นผู้ให้เงินสนับสนุนรายใหญ่ที่สุด และขบวนการเหล่านี้มักเป็นพวกที่แสดงความสัมพันธ์
แบบพึ่งพาขึ้นต ่อก ับร ัฐและห น่วยงานของร ัฐม ากท ี่สุด
78 เพิ่งอ้าง หน้า 26-32
ลิขสทิ ธิ์ของมหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช