Page 294 - สังคมโลก
P. 294
10-54 สังคมโลก
เรือ่ งท ี่ 10.3.3
ทิศทางข องขบวนการเคลื่อนไหวภ าคป ระชาสงั คมในส งั คมโลก
การเปลี่ยนแปลงในโลกาภ ิว ัตน ์ ทำใหส้ ิ่งแ วดล้อมก ลายเป็นป ระเด็นท ี่ม ีค วามส ำคัญ ขบวนการส ันติภาพเขียว
(Greenpeace) นับเป็นอ งค์กรพ ัฒนาเอกชนที่ม ีบทบาทม ากท ี่สุดองค์การหนึ่งท ี่ถือกำเนิดต ั้งแต่ ค.ศ. 1971 ภายหลัง
การพบเห็นการทดลองอาวุธนิวเคลียร์ชายฝั่งมลรัฐอลาสกา สหรัฐอเมริกาของกลุ่มนักกิจกรรมขนาดเล็กกลุ่มหนึ่ง
ทำให้มีการขยายตัวเป็นเครือข่ายทั่วโลกในการต่อต้านการทำลายสิ่งแวดล้อม วัตถุประสงค์สำคัญคือ การรักษา
ป่าไม้ดั้งเดิมที่สำคัญของโลก การรณรงค์ต่อสู้กับประเทศและองค์การที่ทำให้เกิดภาวะเรือนกระจกภายหลังจากที่
โลกร้อนขึ้น การต่อต้านการใช้สารพิษ การอนุรักษ์และปกป้องมหาสมุทร การรณรงค์ต่อสู้กับการใช้เทคโนโลยีทาง
พันธุว ิศวกรรมในท างท ี่ผ ิด และก ารต ่อต ้านน ิวเคลียร์ ยุทธวิธีท ี่ใช้คือ การป ระท้วง การป ิดล ้อม เป็นต้น โดยม ีเครื่องมือ
ที่สำคัญ คือ เรือที่มีชื่อเสียง คือ เรือ Rainbow Worrier II เรือ Sirirus เรือ Greenpeace และเรือ Arctic Sunrise
และได้รับการสนับสนุนทางด้านเงินทุนจากประชาชน องค์การการกุศล และองค์การพัฒนาเอกชน โดยมีการหา
รายได้จากหลายส่วน เป็นต้น80 บทบาทที่สำคัญคือการต่อต้านการทดลองอาวุธนิวเคลียร์ของประเทศฝรั่งเศสที่
กลางม หาสมุทรแ ปซิฟิก แต่ก ารจมเรือ Rainbow Worrier I ด้วยการว างร ะเบิดข องหน่วยส ืบราชการลับข องฝรั่งเศส
ที่ท่าเรือเมืองโอคแลนด์ นิวซีแลนด์ ทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างฝรั่งเศสกับนิวซีแลนด์เลวร้ายลง และแม้ฝรั่งเศสทำ
การทดลองอาวุธนิวเคลียร์ต่อไป แต่ย่นระยะเวลาเพื่อลดปัญหาที่ตามมา เป็นต้น บทบาทของขบวนการสันติภาพมี
แนวโน้มที่เพิ่มม ากขึ้นในอนาคต เพราะความเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมมีผ ลต่อค วามเปลี่ยนแปลงในค วามเป็นอ ยู่
ในอ นาคต ทำให้ประเทศหลายประเทศต่างให้ความส ำคัญกับก ารจัดประชุมในเรื่องน ี้เพิ่มขึ้น
ขณะเดียวกันส ิทธิม นุษยช นกล ายเป็นป ระเด็นท ี่ม ีค วามส ำคัญ และส ่งผ ลให้อ งค์การพ ัฒนาเอกชนห ลายแ ห่ง
ต่างม ีบ ทบาทสำคัญ เช่น กาชาดสากล (International Red Cross) ที่ให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมก ับชาวอิรัก
ภายห ลังก ารโค่นล ้มซ ัดด ัม ฮุสเซน องค์การน ิรโทษก รรมร ะหว่างป ระเทศ (Amnesty International) ที่ให้ค วามส ำคัญ
กับการละเมิดสิทธิม นุษยช นในพ ม่า เป็นต้น
ความเปลี่ยนแปลงในโลกเข้าสู่ยุคโลกาภิวัตน์ ทำให้ขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมมีบทบาททาง
ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม แม้ว่าเครือข่ายต่างๆ ของขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมจะมีประเด็น
ร่วมในเรื่องการลดอ ำนาจรัฐเพิ่มอ ำนาจป ระชาชน แต่กลุ่มพ ลังต ่างๆ ที่ร่วมข บวนการม ีลักษณะแ ยกย ่อยอยู่ก่อนแล้ว
ไม่ได้มีอุดมการณ์หลักหรือจินตภาพร่วม (Common Vision) ในรูปแบบของสังคมที่พึงปรารถนา ดังนั้น พลังใน
การเคลื่อนไหวจึงก ่อร ูปเฉพาะของแ ต่ละก ลุ่ม มีภารกิจเฉพาะข องแต่ละองค์กรม ากกว่า
ในป ัจจุบันข บวนการเคลื่อนไหวภ าคป ระชาส ังคมม กี ารร วมต ัวอ ย่างห ลวมๆ ของเครือข ่ายท ีท่ ำงานในป ระเด็น
เฉพาะ เช่น ประเด็นสิ่งแ วดล ้อม สวัสดิการทางส ังคม และป ระเด็นผู้ห ญิง เครือข ่ายเหล่าน ี้ม าร วมต ัวก ันเพื่อส ร้างก ติกา
ใหมข่ องส งั คมใหเ้ กดิ ข ึน้ หรอื เปน็ ล กั ษณะข องก ารส รา้ งว าทก รรมข ึน้ ม าใหม่ ตวั อยา่ งท เี่ หน็ ช ดั จ ากก ระแสป ฏริ ปู ก ารเมอื ง
ของไทย ซึ่งเกิดขึ้นจ ากความคาดหวังว ่าจ ะนำไปสู่การแ ก้ปัญหาวิกฤตต ่างๆ โดยอาศัยแนวคิดก ารเมืองภ าคประชาชน
ที่มีกลุ่มหลากหลาย แต่มีเป้าหมายร่วมกันในการเปิดพื้นที่ให้ประชาชน บางกลุ่มมีประเด็นร่วมกันก็ประสานงานกัน
80 สนใจ โปรดอ ่านร ายละเอียดใน www.greenpeace.org
ลขิ สิทธขิ์ องมหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช