Page 291 - สังคมโลก
P. 291

ขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมในสังคมโลก 10-51

       2. 	การ​เป็น​ปรปักษ์   ใน​ทาง​ตรง​กัน​ข้าม​ก็​มี​ความ​สัมพันธ์​อีก​อย่าง​หนึ่ง​ที่​อาจ​เรียก​ว่าการ​เป็น​ปรปักษ์
ซึ่ง​ขบวนการ​เคลื่อนไหว​ภาค​ประชา​สังคม​กับ​รัฐบาล​มัก​มี​ความ​สัมพันธ์​แบบ​เป็น​ปรปักษ์​ต่อ​กัน​ตลอด ความ​สัมพันธ์​
แบบน​ ี้เ​ห็นไ​ด้จ​ ากข​ บวนการ​เคลื่อนไหว​ภาค​ประชา​สังคม​ที่​ด้าน​หนึ่ง​มี​ลักษณะ​การ​ทำงานท​ ี่​ท้าทายน​ โยบาย กรอบ และ​
แนว​ความค​ ิด​การ​พัฒนาท​ ั้ง​ระบบ​ของ​รัฐ และ​อีกด​ ้าน​หนึ่ง​สนับสนุนอ​ งค์กรแ​ ละ​ขบวนการ​ทางส​ ังคมโ​ดยตรง เป็นค​ วาม​
สัมพันธท์​ ีร่​ ัฐบาลม​ องข​ บวนการเ​คลื่อนไหวภ​ าคป​ ระชาส​ ังคมเ​ป็นค​ ูป่​ รปักษ์ ในฐ​ านะท​ ีย่​ กป​ ระเด็นแ​ ละเ​รื่องร​ าวต​ ่างๆ และ​
ทำงานใ​น​แนวทางแ​ ละ​วิธีก​ าร​ที่ท​ ้าทายน​ โยบาย โครงการแ​ ละย​ ุทธศาสตร์ สมมติฐาน​ที่​เป็น​ฐาน​รองรับก​ รอบ แบบแผน
และก​ าร​ปฏิบัติ​ของต​ ัวแทน​และ​หน่วย​งาน​ของร​ ัฐบาล

       ใน​บาง​สถานการณ์ท​ ี่เ​จ้า​หน้าที่ข​ อง​รัฐบาล​ใน​ระดับท​ ้องถ​ ิ่นแ​ ละ​ระดับ​รัฐ​เป็นส​ ่วนห​ นึ่งข​ องก​ ลุ่ม​ผลป​ ระโยชน์​ที่​
ขูดรีดเ​อาร​ ัดเ​อาเ​ปรียบแ​ ละส​ ร้างค​ วามเ​ดือดร​ ้อนต​ ่างๆ ให้ก​ ับค​ นย​ ากจนแ​ ละผ​ ู้ถ​ ูกก​ ดขี่ท​ ั้งม​ วล การท​ ำงานข​ องข​ บวนการ​
เคลื่อนไหวภ​ าค​ประชา​สังคมด​ ้วย​จุดม​ ุ่งห​ มาย​ที่จ​ ะส​ ร้าง​พลังอ​ ำนาจใ​ห้​กับป​ ระชาชน สร้างแ​ ละเ​สริม​ความ​เข้มแ​ ข็ง​ให้​กับ​
องค์กร​ประชาชนแ​ ละ​ขบวนการ​ทางส​ ังคม เพื่อ​จะน​ ำ​ไปส​ ู่​การ​ตั้งค​ ำถามต​ ่อก​ ลุ่ม​ผล​ประโยชน์เ​หล่า​นี้ และเ​ป็นการโ​จมต​ี
เจ้าห​ น้าที่ โครงสร้างแ​ ละ​เครื่องม​ ือก​ าร​ทำงาน​ของร​ ัฐบาลเ​หล่าน​ ี้

       นอกจาก​นั้น​ก็​มี​สถานการณ์​ที่​ขบวนการ​เคลื่อนไหว​ภาค​ประชา​สังคม​ทำงาน​ด้าน​ต่อ​ต้าน​อำนาจ​เผด็จการ​และ​
ส่ง​เสริม​ประชาธิปไตยแ​ บบ​มี​ส่วนร​ ่วม และเ​พิ่มป​ ากเ​สียง​สิทธิโ​อกาส และ​อำนาจ​การค​ วบคุม​ของ​ประชาชน การท​ ำงาน​
ของ​ขบวนการ​เหล่า​นี้​เป็นการ​วิพากษ์​วิจารณ์​โครงสร้าง และ​ลักษณะ​การ​ทำงาน​ของ​รัฐบาล​และ​กระทรวง​ต่างๆ เป็น
การ​ตั้ง​คำถาม​ต่อก​ าร​ควบคุม​ตาม​แบบ​ของ​ระบบ​ราชการ และ​ต่อ​วิธี​การท​ ำงานท​ ี่ม​ ี​ลักษณะข​ ้าง​เดียว เป็น​ความ​ลับ และ​
รวมศ​ ูนย์​ของร​ ัฐบาล กระทรวง​ทบวงก​ รม และ​ข้าราชการ

       เมื่อ​ใด​ที่​ทั้ง​สอง​สถานการณ์​นี้​รวม​เข้า​ด้วย​กัน​ใน​บริบท​เฉ​พาะ​หนึ่งๆ การ​ทำงาน​ของ​ขบวนการ​เคลื่อนไหว
​ภาค​ประชา​สังคม​ที่​ชี้นำ​ด้วย​จุด​มุ่ง​หมาย​ตาม​ที่​กล่าว​มา​ข้าง​ต้น ก็​จะ​เป็น​ปรปักษ์​ใน​ขั้น​รากฐาน​กับ​โครงสร้าง​ลักษณะ​
และ​แบบแผนข​ อง​รัฐบาล หน่วย​งาน​ของร​ ัฐ กระทรวง ทบวง กรม และ​ข้าราชการ ดังน​ ั้น โดยพ​ ื้น​ฐานก​ ็จ​ ะ​ปรากฏ​และ​
ได้ร​ ับก​ ารย​ ้ำเ​น้นว​ ่าเ​ป็น “ความข​ ัดแ​ ย้งท​ างผ​ ลป​ ระโยชน์” ทั้งใ​นท​ างภ​ วว​ ิสัยแ​ ละอ​ ัตว​ ิสัย ในส​ ถานการณ์เ​ช่นน​ ี้เ​องท​ ี่ค​ วาม​
สัมพันธ์​แบบเ​ป็นป​ รปักษ์​เป็น​ความ​สัมพันธ์ห​ ลักร​ ะหว่างอ​ งค์กร​พัฒนา​เอกชนก​ ับ​รัฐบาล

       3. 	การต​ อบ​สนอง จาก​ลักษณะท​ ี่น​ ่าส​ นใจข​ องค​ วาม​สัมพันธ์​แบบป​ รปักษ์​ข้างต​ ้นค​ ือ วิธีก​ ารท​ ี่​รัฐบาลพ​ ยายาม​
จัดการ​กับ​ขบวนการ​เคลื่อนไหว​ภาค​ประชา​สังคม​ใน​บริบท​ดัง​กล่าว​ตาม​ที่​ได้​กล่าว​มา​แล้ว​ข้าง​ต้น การ​ส่ง​เสริม​ให้​มี​การ​
พึ่งพาข​ ึ้น​ต่อ​และก​ าร​ลดค​ วามเ​ป็น​อิสระ​ความ​เป็นต​ ัวข​ อง​ตัวเ​องข​ อง​ขบวนการเ​คลื่อนไหว​ภาคป​ ระชาส​ ังคมเ​หล่า​นี้ เป็น
​วิธี​การ​ทำให้​ขบวนการ​เหล่า​นี้​เงียบ​เสียง หรือ​ให้​กลับ​เข้า​มา ”อยู่​ใน​แถว​ใน​แนว” เพื่อ​ให้​ดำเนิน​การ​ตาม​นโยบาย​การ​
พัฒนาข​ องท​ างการและก​ ารใ​หท้​ ุนถ​ ือเ​ป็นว​ ิธกี​ ารท​ ีด่​ ที​ ี่สุดใ​นก​ ารบ​ รรลเุ​ป้าห​ มายน​ ี้ ดังน​ ั้นข​ บวนการเ​คลื่อนไหวภ​ าคป​ ระชา​
สังคมจ​ ำนวนม​ ากท​ ี่เ​ผชิญก​ ับป​ ัญหาด​ ้านท​ รัพยากร และถ​ ูกช​ ักจูงล​ ่อลวงด​ ้วยก​ ารส​ นับสนุนใ​หท้​ ุนข​ องร​ ัฐบาลท​ ั้งใ​นร​ ะดับ​
ท้องถ​ ิ่นแ​ ละร​ ะดับ​ชาติในเ​บื้อง​ต้นก​ ็เ​พื่อจ​ ะไ​ด้ท​ ำงานต​ ามท​ ี่ข​ บวนการ​ของต​ นว​ างแผน​เอาไ​ว้ แต่ใ​นไ​ม่ช​ ้าก​ ็จ​ ะพ​ บว​ ่าต​ นเอง​
ต้องพ​ ึ่งพา​ขึ้น​ต่อ​รัฐบาล​มาก​เพียง​ใด ทั้งพ​ ึ่งพาเ​จ้า​หน้าที่ร​ ัฐ โครงสร้าง​และ​ขั้น​ตอน​วิธี​การท​ ำงานใ​น​การจ​ ัดการ​ทุน และ​
พบว​ ่า​ความเ​ป็น​อิสระเ​ป็นต​ ัวข​ องต​ ัวเ​องต​ ้องส​ ูญเ​สียไ​ป​มากจ​ ากก​ ารพ​ ึ่งพา​นี้

       ยทุ ธศาสตรล​์ กึ ซ​ ึง้ ป​ ระการท​ สี​่ องท​ รี​่ ฐั บาลแ​ ละห​ นว่ ยง​ านข​ องร​ ฐั บาลน​ ำม​ าใ​ชจ​้ ดั การก​ บั ข​ บวนการเ​คลือ่ นไหวภ​ าค​
ประชาส​ งั คมท​ ม​ี่ ค​ี วามส​ มั พนั ธเ​์ ปน็ ป​ รปกั ษก​์ บั ต​ นค​ อื การเ​อาเ​ขา้ ม​ าเ​ปน็ ส​ ว่ นห​ นงึ่ ข​ องร​ ฐั บาล(cooptation)ยทุ ธศาสตรแ​์ บบ​
นี้​ใช้ม​ ากใ​นส​ ภาพท​ างการเ​มืองท​ ี่เ​ป็นเ​สรีนิยมป​ ระชาธิปไตย การเ​อาเ​ข้าม​ าเ​ป็นส​ ่วนห​ นึ่งข​ องร​ ัฐบาลเ​ช่นว​ ่าน​ ี้ กระทำด​ ้วย​
การด​ ึงข​ บวนการเ​คลื่อนไหวภ​ าคป​ ระชาส​ ังคมเ​ข้าม​ าร​ ่วมใ​นค​ ณะก​ รรมการพ​ ิจารณาน​ โยบาย ในโ​ครงสร้างก​ ารต​ ัดสินใจ
และใ​นเ​วทกี​ ารถ​ กเ​ถียงอ​ ภิปรายข​ องร​ ัฐบาล ซึ่งน​ อกจากจ​ ะไ​ดค้​ วามค​ ดิ แ​ ละค​ วามต​ ัง้ ใจใ​นก​ ารท​ ำงานข​ องข​ บวนการเ​หล่าน​ี้
แล้ว ยัง​เป็นการ​ทำให้​ศักยภาพ​ใน​การ​วิพากษ์​วิจารณ์​และ​ความ​เป็น​ตัว​ของ​ตัว​เอง​ของ​ขบวนการ​เหล่า​นี้​หมด​ไป​ด้วย

                              ลิขสิทธขิ์ องมหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช
   286   287   288   289   290   291   292   293   294   295   296