Page 287 - สังคมโลก
P. 287
ขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมในสังคมโลก 10-47
ปญั หาที่เปน็ ป จั จัยภ ายนอกท ี่ฝงั รากลึกมายาวนาน อาทิ
1. ทัศนคติข องผู้มีอำนาจ ทั้งรัฐบาล ข้าราชการ และผ ู้มีอ ำนาจในก ารแ ก้ไขปัญหา มีท ัศนคติที่ไม่ค่อยดีต่อ
ขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมว ่าเป็นกล ุ่มที่ส ร้างปัญหาให้แก่บ ้านเมือง จึงต้องปรับทัศนคติข องผ ู้มีอำนาจทั้ง
หลายในก ารแ กไ้ ขป ญั หา ตอ้ งศ กึ ษาท ำความเขา้ ใจก บั ป ญั หา ซึง่ ท ำไดโ้ ดยก ารร บั ฟ งั ค วามค ดิ เหน็ ข องผ อู้ ืน่ โดยเฉพาะต อ้ ง
รู้จักท ีจ่ ะเรียนร ู้ ระดมค วามค ิด ระดมก ารม สี ่วนร ่วมจ ากป ระชาชน มิใช่ใช้ว ิธคี ิดแ บบเจ้าน าย รวมศ ูนย์ สั่งก าร แบบเดิม
2. รัฐบาล และผู้มีอำนาจในการแก้ไขปัญหา ขาดการสร้างจิตสำนึกในเรื่องสิทธิมนุษยชน สิทธิชุมชน
รวมทั้งการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสภาพแวดล้อม มองชาวบ้านเป็นคนโง่เง่าเต่าตุ่น การพัฒนาต้องมาจาก
ข ้างบ น ประชาชนไม่มีส ิทธิ โดยเฉพาะค นจนต ้องเป็นผ ู้เสียส ละเพื่อก ารพ ัฒนา ทรัพยากรต ้องให้น ายทุน และพ วกพ ้อง
ตัวเอง ชุมชนไม่มีส ิทธิเพราะไม่ส ามารถคำนวณเป็นตัวเงินได้ ดังน ั้นต้องส ร้างจิตสำนึกในห มู่ผู้มีอ ำนาจ และประชาชน
ทัง้ ช าติ ใหต้ ระหนกั ถ งึ ส ทิ ธมิ นษุ ยช น สทิ ธชิ มุ ชน และก ารอ นรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาติ สิง่ แ วดลอ้ ม รวมท ัง้ ความส มั พนั ธ์
ระหว่างมนุษย์กับธ รรมชาติ ที่จ ะต้องพ ึ่งพา อาศัยซ ึ่งก ันแ ละกัน โดยเฉพาะผู้นำประเทศ ต้องให้ความสำคัญแ ละเป็น
ผู้นำในก ารอนุรักษ์ รวมทั้งส นับสนุนงบประมาณในการอ นุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และส ภาพแ วดล้อม ระดมการมี
ส่วนร ่วมข องป ระชาชน ในก ารช ่วยห นุนเสรมิ เจ้าห น้าทีท่ ีร่ ับผ ิดช อบห ลกั รณรงคเ์ ผยแ พร่ ใหป้ ระชาชนเขา้ ใจก ารอ นุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและส ภาพแ วดล้อม
3. การรวมศูนย์อำนาจอยู่ที่ส่วนกลาง การตัดสินใจยังคงอยู่ที่ส่วนกลาง โดยเฉพาะรัฐบาล กระทรวง
ทบวง กรม ทำให้ไม่สามารถแก้ไขปัญหาท้องถิ่นได้ จึงมีปรากฏการณ์การมาชุมนุมเรียกร้อง ที่หน้าทำเนียบรัฐบาล
อย่างไม่ขาดสาย ดังนั้น จึงต ้องร ่วมก ันผลักดัน ให้เกิดก ารกร ะจาย อำน าจส ู่ท้องถ ิ่น การกร ะจาย อำนาจในการจ ัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติ ให้ท ้องถ ิ่น ให้ป ระชาชน ชุมชน มีส ่วนร ่วมในก ารป กป้อง พิทักษ์ร ักษา ทรัพยากร ให้ส ิทธิก ับช ุมชน
ในการด ูแล ช่วยบ ำรุงรักษาป กป้อง การท ำลายทรัพยากรธรรมชาติ ปฏิรูประบบร าชการให้ม ีประสิทธิภาพ
4. รัฐบาล และผ มู้ อี ำนาจในก ารแ กไ้ ขป ัญหา ไมม่ นี โยบาย กำหนดก รอบ แนวทาง มาตรการ วธิ กี าร ใหช้ ดั เจน
ในก ารแ ก้ไขป ัญหา ในท างก ลับก ันห ากเป็นเรื่องข องค นรวย รัฐบาลแ ละผ ู้ม ีอ ำนาจ มักจ ะม ีนโยบ าย มีก ารก ำหนดก รอบ
แนวทาง มาตรการ วิธีก ารที่ช ัดเจนเป็นระบบ ในการแ ก้ไขปัญหา และยังออกกฎหมายเร่งด่วน ดังนั้น รัฐบาลและผ ู้มี
อำนาจ ต้องมีแนวน โยบายที่ชัดเจน ในการแ ก้ไขปัญหา มีก ารกำหนดกรอบ แนวทาง มาตรการ วิธีการ ให้ชัดเจน ให้
สอดคล้องกับส ภาพข้อเท็จจริงข องช ุมชน สอดคล้องกับข นบธรรมเนียมป ระเพณีข องแต่ละชุมชน รวมท ั้งม ีมาตรการ
ทางก ฎหมาย การแ ก้ไขกฎหมาย หรืออ อกก ฎหมาย ที่จ ะนำไปสู่การแ ก้ไขป ัญหา รวมท ั้งเอาผิดก ับผ ู้ก ระทำผิดอ ย่าง
จริงจัง ไม่เลือกป ฏิบัติ และต ้องม ีม าตรการและเอาจ ริงก ับเจ้าห น้าที่ท ี่ส มรู้ร ่วมค ิด ร่วมก ระทำผ ิด หรือล ะเว้นก ารป ฏิบัติ
หน้าที่
5. รัฐบาลและผู้มีอำนาจ ยังขาดคุณธรรม จริยธรรม ยึดติดกับอำนาจ ศักดิ์ศรี ผลประโยชน์ของตนและ
พวกพ้อง ดังนั้น รัฐบาล และผู้มีอำนาจ ต้องมีคุณธรรม จริยธรรม ไม่เห็นแก่อามิสสินจ้าง ไม่เห็นแก่พวกพ้อง เอา
ประชาชนแ ละส ิ่งแ วดล้อมเป็นต ัวต ั้ง ไม่เล่นเกมการเมืองจ นล ืมก ารแ ก้ไขป ัญหาป ระชาชน ไม่ค อร์รัปชันโกงกิน กำหนด
นโยบายและกฎหมายเพื่อประชาชนและสิ่งแวดล้อม อันจะนำไปสู่การอยู่ร่วมกัน ระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติอย่าง
สมดุลแ ละผาสุข
ส่วนอ ปุ สรรค ขีดจ ำกดั ภายในข องข บวนการเคลือ่ นไหวภ าคป ระชาส งั คม มกั จ ะอ ยูท่ ีค่ วามช ัดเจนในเป้าห มาย
ร่วม ภารกิจร ่วม เป็นส ิ่งส ำคัญท ีจ่ ะต ้องเรียนร ู้ และพ ึงม รี ่วมก ัน เนื่องจากว ่าข บวนการเคลื่อนไหวภ าคป ระชาส ังคม เป็น
เครอื ข า่ ยใหญท่ รี่ วมต ัวก นั ม าในร ะยะเวลาท ไี่มน่ านน กั จึงท ำให้ความเข้าใจในเปา้ ห มายร ่วม ภารกจิ ร ่วมย ังไมก่ ระจ่างช ัด
มากน ัก คงต ้องอ าศัยร ะยะเวลาในก ารเรียนร ู้ร ่วมก ัน สรุปบ ทเรียนร ่วมก ันอ ันจ ะน ำไปส ู่ค วามก ระจ่างช ัดม ากข ึ้น หากม ี
ความช ัดเจน และส ามารถพัฒนาอย่างต่อเนื่องได้ ก็จ ะส ามารถส ร้างพลังในก ารเปลี่ยนแปลงได้ มากกว่าที่เป็นอยู่
ลิขสทิ ธิ์ของมหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช