Page 282 - สังคมโลก
P. 282
10-42 สังคมโลก
ในก ารด ำเนินก ิจกรรมข องข บวนการให้ป ลอดจ ากก ารแ ทรกแซงโดยร ัฐ และย ังเป็นการส ร้างค วามเชื่อม ั่นต ่อป ระชาชน
ทั่วไปว ่าขบวนการข องต นไม่ได้ส นับสนุนหรือชื่นชอบพรรคการเมืองใดเป็นพ ิเศษ
2. ลักษณะที่เป็นการระดมสรรพกำลังจากรากหญ้า (grass-roots mobilization) หรือแบบปรปักษ์ต่อกัน
ขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมที่ยอมรับลักษณะความสัมพันธ์แบบน ี้จะให้ความสำคัญต่อการวิพากษ์ว ิจารณ์
นโยบายข องร ัฐ โดยเฉพาะก ารต รวจส อบค ัดค้านก ารใชอ้ ำนาจข องก ลไกร ัฐในเรื่องท ีเ่กี่ยวก ับว ิถชี ีวิตข องป ระชาชน และ
โดยป กตขิ บวนการแ บบน ีจ้ ะร ังเกียจก ารเข้าไปม สี ่วนร ่วมก ับก ิจกรรมก ับก ลไกร ัฐ และย ืนยันค วามเป็นอ ิสระจ ากร ัฐ เช่น
การไม่ร ับงบประมาณจากร ัฐ การม ีโครงสร้างก ารท ำงานท ี่เป็นอิสระแ ละแ ยกขาดจ ากโครงสร้างร ัฐ แต่บ างกรณีก็อ าจมี
ความร ่วมมือกันบ ้าง เช่น ความร่วมม ือในการแก้ป ัญหาก ารข าดแคลนน้ำแ ละก ารจ ัดการทรัพยากรธรรมชาติ เป็นต้น
ขบวนการแบบน ี้จ ะให้ความสำคัญต่อก ารรวมกลุ่มจัดต ั้งของประชาชนในร ะดับรากห ญ้าเป็นอ ย่างม าก
3. ลักษณะท เี่ ป็นการเสรมิ ส ร้างค วามเข้มแ ขง็ จ ากป ระชาชนร ะดบั ล ่าง (empowerment from below) ขบวน-
การเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมที่ม ีลักษณะแ บบน ี้จะเชื่อว่าการเปลี่ยนแปลงทางส ังคมและก ารเมือง จะขึ้นอยู่กับการ
พึ่งต นเองข องป ระชาชนในร ะดับท ้องถ ิ่นม ากกว่าก ารป ฏิรูปเชิงโครงสร้างจ ากร ัฐบาลร ะดับช าติ ขบวนการเหล่าน ี้จ ะเน้น
กิจกรรมท ี่เสริมสร้างจิตสำนึกในการพ ิทักษ์ส ิทธิข องตน สร้างความเชื่อมั่นและท ักษะให้เกิดขึ้นในหมู่ประชาชนร ะดับ
ล่าง เพื่อท ำให้ประชาชนสามารถแก้ไขป ัญหาข องต นได้ด้วยตนเอง
อย่างไรก็ตาม ยุทธศาสตร์และแนวทางการเคลื่อนไหวทางการเมืองย่อมขึ้นอยู่กับบริบทภายในพื้นที่ ภาวะ
ปัจจุบันที่บรรยากาศทางการเมืองค่อนข้างมีเสรีภาพ แต่ประชาชนประสบปัญหาจากวิกฤตเศรษฐกิจ และมีความ
ข ัดแย้งกับร ัฐเรื่องก ารจ ัดการทรัพยากรธรรมชาติ เช่น ดิน น้ำ ป่า และพลังงาน เป็นต้น ขบวนการจ ะให้ความส ำคัญก ับ
การส รา้ งค วามเขม้ แ ขง็ ข องภ าคป ระชาชนเพือ่ ต อ่ ร องก บั ภ าคร ฐั หรอื ล ดท อนอ ำนาจร ฐั ท เี่ ขา้ ไปม ผี ลกร ะท บก บั ว ถิ ชี วี ติ แ ละ
ความเป็นอ ยูข่ องป ระชาชน หลายข บวนการเริ่มต ั้งค ำถามต ่อร ะบบป ระชาธิปไตยแ บบต ัวแทน และเน้นก ลุ่มเป้าห มายท ี่
ประชาชนร ะดับล ่าง ซึ่งเป็นเหยื่อจ ากย ุทธศาสตร์ก ารพ ัฒนาป ระเทศห ลายข บวนการเริ่มน ำเสนอย ุทธศาสตรก์ ารพ ัฒนา
ประเทศแ บบใหมท่ มี่ ผี ลต อ่ ก ารเปลีย่ นแปลงเชงิ โครงสรา้ งเพือ่ แ กไ้ ขป ญั หาค วามไมเ่ ทา่ เทยี ม และส รา้ งด ลุ อำนาจร ะหวา่ ง
กลุ่มต ่างๆ ในสังคม โดยยืนอ ยู่บนพื้นฐานความเชื่อที่ว่า การมีส่วนร ่วมทางการเมืองของประชาชนอ ยู่ที่ป ระชาชนต ้อง
มีส่วนร ่วมในก ารกำหนดอธิบาย และดำเนินนโยบายที่เกี่ยวพ ันกับวิถีช ีวิตของต น
แนวคิดเรื่องการเมืองภาคประชาชนสามารถอธิบายได้จากแนวคิดเรื่องพื้นที่ หรืออาณาบริเวณสาธารณะ
(public sphere) โดยพื้นที่ทางการเมืองถือเป็นอาณาบริเวณสาธารณะที่รัฐโดยระบบราชการเป็นผู้กำหนดนโยบาย
เพียงผ ู้เดียว นอกเหนือจ ากพ ื้นที่ข องร ัฐเป็นพ ื้นที่ข องป ัจเจกช นท ี่ถ ูกก ำหนดไว้ในร ะบบค วามร ู้สึกน ึกคิดข องป ระชาชน
วา่ พลเมอื งท ดี่ คี วรท ำเฉพาะห นา้ ทีข่ องต นใหด้ เี ทา่ นัน้ ภาระแ ละพ นั ธก จิ ท อี่ ยนู่ อกเหนอื จ ากพ ืน้ ทีข่ องป จั เจกช นน ัน้ ใหอ้ ยู่
ในก ารจ ดั การข องร ฐั แมต้ ่อม าไดย้ อมรบั ภ าคธ ุรกิจเอกชนใหเ้ขา้ ม าม บี ทบาทในพ ืน้ ทีท่ างการเมอื ง ซึ่งถ ือเป็นการย อมรบั
อย่างเป็นท างการข องก ารก ำหนดน โยบายส าธารณะที่มาจ ากก ลุ่มพ ลังน อกร ะบบราชการ และน อกร ะบบประชาธิปไตย
แบบต ัวแทน แต่ “ภาคเอกชน” ที่ว ่าน ี้ม ีค วามห มายแ ค่ต ัวแทนข องก ลุ่มท ุนข นาดก ลางแ ละใหญ่เท่านั้น รัฐย ังไม่ย อมรับ
ความพ ยายามท ี่จะเข้าไปกำหนดนโยบายสาธารณะของภ าคประชาชน
ข้อจำกัดของระบบการเมืองและบรรยากาศทางการเมืองที่ประชาชนไม่สามารถสื่อสารกับรัฐได้นำไปสู่การ
เคลื่อนไหวท างส ังคมแ บบใหม่เกี่ยวก ับพ ื้นที่ท างการเมือง ได้แก่ ปฏิบัติการท างการเมืองลักษณะใหม่ๆ หลายป ระการ
โดยการใชค้ ำว า่ “การเมอื งภ าคประชาชน” ซง่ึ ห มายถ งึ พน้ื ทท่ี างการเมอื งใหมท่ เ่ี กดิ ข น้ึ กบั ส งั คมไทย เปน็ พ น้ื ทท่ี างการ เมอื ง
ท ีเ่ปิดใหก้ ลุ่มค นห ลากห ลาย เป็นการเคลื่อนไหวในป ระเด็นป ัญหาใหม่ๆ ทีแ่ ตกต ่างไปจ ากก ารเคลื่อนไหวท างการเมือง
ในล ักษณะเดิมข องข บวนการนักศึกษา กรรมการ และช าวนา ในช ่วงห ลัง 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 แต่เป็นการเคลื่อนไหว
ลิขสทิ ธ์ขิ องมหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธิราช