Page 279 - สังคมโลก
P. 279
ขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมในสังคมโลก 10-39
การสถาปนาประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมหรือแบบเข้มข้น เพ่ือให้ประชาชนในระดับรากหญ้ามีส่วนร่วมใน
การต ัดสนิ ใจ ซ่งึ เป็นเร่ืองก ารเมอื ง และความหลากห ลาย ทีไ่ ม่ใช่เปน็ โลกใบเดยี ว ซึง่ เปน็ ได้ท งั้ ท างด า้ นการเมือง
เศรษฐกิจ และส ังคม
เรื่องท ่ี 10.2.3
กระบวนการและแนวทางของข บวนการเคลือ่ นไหว
ภาคป ระชาส ังคมกบั ความเปลี่ยนแปลงข องสังคมโลก
ออฟเฟ่ (Offe)68 พยายามที่จ ะชี้ให้เห็นว่า กระบวนการและแ นวทางข องขบวนการภ าคประชาส ังคมแบบใหม่
ก็คือก ารท้าทายต ่อเขตแดนของการเมืองแ บบเดิมที่แบ่งช ีวิตโลก (life-world) ของผู้คนออกเป็น 1) ด้าน “การเมือง”
หรือ “ชีวิตส าธารณะ”(public) ที่ถูกให้ความหมายว ่าเป็น “พื้นที่ทางการเมือง” ที่ส ถาบันทางการเมือง ตัวแสดงท าง
การเมือง และช ่องทางทางการเมืองให้การรับรองค วามชอบธรรม กับ 2) ด้านที่เป็นเรื่อง“ส่วนตัว”(private) ที่ถูกให้
ความหมายว่าเป็นเรื่องราวที่จะไม่ได้รับความชอบธรรมในการนำมาเกี่ยวข้องกับผู้อื่น และจะก้าวล้ำเข้ามาสู่เขตแดน
ของด ้าน “การเมือง” มิได้ แต่ส ำหรับขบวนการทางส ังคมแ บบใหม่แล้ว การเมืองหรือช ีวิตสาธารณะ จะถ ูกทำให้ก ลาย
เป็นเรื่องทั่วไปในช ีวิตประจำวันท ี่ป ระชาชนทุกค นส ามารถเข้าม าเกี่ยวข้องได้
ในการอภิปรายในระดับสากล เริ่มมีการศึกษากระบวนการและแนวทางของขบวนการเคลื่อนไหวภาค
ป ระชาสังคมในอ นาคตว ่า นอกเหนือจากจ ะม กี ารใชเ้ทคโนโลยสี ารสนเทศเข้าม าเป็นเครื่องม ือในก ารส ร้างเครือข ่ายแ ล้ว
โครงสร้างของขบวนการเคลื่อนไหวจ ะมีก ารข ยายตัวไปส ู่ร ะดับโลก เนื่องจากผ ู้เข้าร่วมก ัน การเคลือ่ นไหวจ ะม คี วาม
รู้สึกว่าตนเองเป็น “พลเมืองโลก” (global citizen) ดังน ั้น การเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่เกิดขึ้นในสังคมหนึ่งๆ ในโลก
ย่อมท ำให้ประชาคมโลกร ู้สึกว่าต นเองได้รับผลกร ะทบจ ากก ารเปลี่ยนแปลงน ั้นด้วย จึงเป็นท ี่มาของข บวนการเคลื่อน
ภาคประชาสังคมในระดับโลก เป็นต้นว่า การรณรงค์ต่อต้านนิวเคลียร์ การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม การต่อต้านการใช้
แรงงานเด็ก เป็นต้น
แนวทางการเคลื่อนไหวของขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมโลก จะมีลักษณะเป็นการขับเคลื่อนโดย
น ักก ิจกรรมท ั่วโลกท ี่จ ัดต ั้งข ึ้นเพื่อม ุ่งห วังท ี่จ ะม ีอ ิทธิพลต ่อก ารก ำหนดน โยบายในร ะดับโลก สร้างค วามเชื่อมแ น่นเป็น
อันห นึ่งอ ันเดียวกันร ะหว่างป ระชาคมโลกให้เล็งเห็นถ ึงค วามส ำคัญแ ละค วามจ ำเป็นในก ารแ ก้ไขป ัญหาบ างอ ย่างท ี่เป็น
อยู่ในส ังคมป ัจจุบัน เช่น การพ ัฒนาร ะบบนิเวศวิทยาอย่างย ั่งยืน เศรษฐกิจพอเพียง ความร ับผ ิดช อบข องบ ริษัทยักษ์
ใหญ่ท ี่มีต ่อสังคม ความยุติธรรมในสังคม และประเด็นอ ื่นๆ ที่เกี่ยวเนื่องกันอ ย่างก ้าวหน้า
68 C, Offe New Social Movement: Challenging the Boundaries of Institutional Politics. Social Research 52: 817-68,
1985.
ลขิ สทิ ธ์ิของมหาวทิ ยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช