Page 283 - สังคมโลก
P. 283
ขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมในสังคมโลก 10-43
ในประเด็นปัญหาที่ก้าวข้ามจากการต่อสู้เฉพาะเรื่อง จึงสามารถดึงเอากลุ่มคนที่หลากหลายมาเข้าร่วมได้ ทำให้เกิด
จินตนาการใหม่เกี่ยวกับพื้นที่ทางการเมืองโดยเฉพาะการวางพื้นฐานการคิดให้มีการเคลื่อนไหวเรื่องที่เป็นประเด็น
ร่วม ที่ผู้คนต้องมีผ ลกร ะทบด ้วยทั้งสิ้น
การเคลื่อนไหวส ำคัญท ี่ส ามารถผ สานแ ละก ่อร ูปจ ินตนาการข องพ ื้นที่ท างการเมืองใหม่ และม ีส ่วนทำให้พื้นที่
การเมือง “ภาคประชาชน” ตกผลึกจนกลายเป็นศัพท์ท่ีใช้ส่ือสารในสังคมไทย ได้แก่ การเคล่ือนไหวคัดค้าน
การขน้ึ สอู้ ำนาจของพลเอกสุจินดา คราประยูร ใน พ.ศ. 2535 และการเคลื่อนไหวช่วงการร่างรัฐธรรมนูญใหม่ใน
พ.ศ. 2539–2540 เพราะก ารเคลื่อนไหวท ั้งส องค รั้งท ีเ่กิดข ึ้นน ั้น สามารถด ึงค นจ ำนวนม ากมายจ ากห ลายก ลุ่มส ถานะม า
ร่วมมือร ่วมใจก ัน จนอ าจกล่าวได้ว ่า หลังก ารต ่อต ้านรัฐบาลพ ลเอกสุจ ินดาแ ล้ว คำว่า “การเมืองภาคป ระชาชน” ก็เริ่ม
ชัดเจนม ากข ึ้นในการเคลื่อนไหวแ ละผลักด ันให้เกิดการปฏิรูปการเมืองในส ังคมไทย
แนวคดิ ท างการเมืองข องข บวนการเคลือ่ นไหวภ าคป ระชาส งั คมใหมท่ สี่ ะทอ้ นผ า่ นแ นวคิดเรือ่ ง “การเมอื งภ าค
ประชาชน” ได้นิยามป ระชาธิปไตยแบบใหม่ข ึ้นม าโดยมองว่า ประชาธิปไตยไม่ได้ห มายถ ึงแ ค่การเลือกตั้ง แต่ห มายถึง
การให้ประชาชนช่วยตัวเองได้ โดยไม่ต้องพึ่งพาอำนาจรัฐมากนัก การเน้นสนับสนุนให้ประชาชนช่วยตัวเองได้ เป็น
ตัวของตัวเองได้ โดยไม่ต้องพึ่งพาอ ำนาจร ัฐมากนัก ถือได้ว ่าเป็นการส่งเสริมประชาธิปไตยในสังคม ประชาธิปไตยใน
ทัศนะของขบวนการเหล่านี้ไม่ได้จำกัดเฉพาะประชาธิปไตยแ บบตัวแทน (Representative Democracy) โดยผ่าน
การเลือกตั้งที่ประชาชนไปใช้สิทธิลงคะแนนเสียงทุก 4-5 ปี เพื่อเลือกตั้งตัวแทนไปทำหน้าที่ตัดสินใจแทนประชาชน
เท่านั้น แตห่ มายถ ึงค วามย ุติธรรม ความเสมอภ าค และส ังคมท ีย่ ั่งยืน ดังน ั้น ขบวนการเหล่าน ีจ้ ึงส นับสนุนก ระบวนการ
ประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมที่ประชาชนระดับล่างสามารถมีส่วนในกระบวนการตัดสินใจ โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับการ
จัดการและใช้ป ระโยชน์จ ากทรัพยากรในช ุมชนและการก ำหนดน โยบายที่มีผ ลต ่อวิถีชีวิตข องเขา76
กิจกรรม 10.2.3
จงอธิบายกระบวนการและแนวทางของขบวนการเคล่ือนไหวภาคประชาสังคมกับความเปลี่ยนแปลง
ของสังคมโลก
แนวต อบก จิ กรรม 10.2.3
กระบวนการและแนวทางของขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมใหม่ได้นิยามประชาธิปไตยแบบ
ใหม่ขึ้นมาโดยมองว่า ประชาธิปไตยไม่ได้หมายถึงแค่การเลือกต้ัง แต่หมายถึงการให้ประชาชนช่วยตัวเองได้
โดยไมต่ ้องพง่ึ พาอำนาจร ฐั ม ากนัก ประชาธิปไตยในทัศนะข องขบวนการเหลา่ นไี้ ม่ได้จ ำกดั เฉพาะประชาธิปไตย
แบบตัวแทน โดยผ่านการเลือกตั้งที่ประชาชนไปใช้สิทธิลงคะแนนเสียงทุก 4-5 ปี เพ่ือเลือกต้ังตัวแทนไปทำ
หน้าที่ตัดสินใจแทนประชาชนเท่าน้ัน แต่หมายถึงความยุติธรรม ความเสมอภาค และสังคมท่ียั่งยืน ดังนั้น
ขบวนการเหล่านี้จึงสนับสนุนกระบวนการประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมท่ีประชาชนระดับล่างสามารถมีส่วน
ในกระบวนการตัดสินใจ โดยเฉพาะที่เก่ียวกับการจัดการและใช้ประโยชน์จากทรัพยากรในชุมชน ตลอดจน
การก ำหนดนโยบายทีม่ ผี ลต่อวถิ ีชวี ติ ข องเขา
76 คำประกาศร าชดำเนิน “มหกรรมประชาชนเพื่อศตวรรษท ี่ 21” 2535 หน้า 35
ลขิ สทิ ธ์ิของมหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช