Page 280 - สังคมโลก
P. 280
10-40 สังคมโลก
นอกจากน ี้ พฤทธิส าณ ชุมพล69 ได้ส รุปให้เห็นล ักษณะสำคัญซึ่งเป็นแ นวทางข องข บวนการเคลื่อนไหวภาค
ประชาสังคมใหม่ไว้ 3 ประการ คือ
1. ขบวนการทางสังคมแบบใหม่มีความเป็นขบวนการทางสังคมมากกว่าที่จะเป็นขบวนการทางการเมือง
เพราะให้ค วามส นใจในเรื่องค ่าน ิยมแ ละวิถีช ีวิต ซึ่งก ็คือ “เรื่องเชิงว ัฒนธรรม” ดังน ั้น จึงมีล ักษณะท างสังคมมากกว่า
ทางการเมอื งโดยตรง จดุ ม ุ่งห มายข องข บวนการเหล่าน อี้ ยทู่ กี่ ารร ะดมเข้าร ่วมในส ังคมป ระชาซ ึง่ ม สี ่วนส ำคญั ส ำหรบั ก าร
ทำก ิจกรรมในอ าณาบ ริเวณสาธารณะ (public sphere) เพื่อสังคมโดยรวม และไม่ได้มุ่งที่จะเข้าไปมีส ่วนในอำนาจร ัฐ
หรือครองอำนาจรัฐ
2. ขบวนการท างส งั คมแ บบใหมม่ ฐี านท มี่ ัน่ อ ยใู่ น “สงั คมป ระชา” กลา่ วค อื เนน้ ก ระทำก ารอ อ้ มร ฐั (bypass the
state) ไม่ส นใจท ี่จ ะติดต่อกับหรือท้าทายอำนาจร ัฐโดยตรง หากแ ต่ต้องการท ี่จ ะปกป้องส ังคมป ระชาจากการก้าวก่าย
โดยรัฐเทคโนแครต ขบวนการทางสังคมแบบใหม่จึงมีลักษณะการทำกิจกรรมและลักษณะอุดมการณ์เชิงสัญลักษณ์
(symbolic) เป็นห ลัก
3. ขบวนการทางสังคมแบบใหม่ พยายามที่จะนำมาซึ่งการเปลี่ยนแปลงสังคม ทั้งโดยการเปลี่ยนแปลง
ค ่านิยม และโดยการพัฒนาวิถีช ีวิตใหม่ๆ ขึ้นม าเป็นทางเลือก (alternative life-styles) กล่าวค ือ แทนที่จ ะม ุ่งสู่ก าร
เปลี่ยนแปลงโดยผ่านระบบการเมืองหรือโดยการกระทำทางการเมือง ขบวนการใหม่ๆ มุ่งความสนใจไปที่นวัตกรรม
เชิงวัฒนธรรม (cultural innovation) ซึ่งสร้างสรรค์วิถีชีวิตใหม่ โดยการท้าทายค่านิยมเดิมๆ การเน้นสัญลักษณ์
และความม ีต ัวตน
แนวคดิ ข บวนการเคลือ่ นไหวภ าคป ระชาส งั คมใหมจ่ งึ ถ กู พ ฒั นาข ึน้ ภ ายใตส้ งั คมอ ตุ สาหกรรมก า้ วหนา้ และก าร
พัฒนาร ะบอบป ระชาธิปไตยท ีก่ ้าวหน้า เป็นส ังคมข องค นช ั้นก ลางผ ูม้ กี ารศ ึกษา มที ักษะ จึงท ำใหป้ ระเด็นข องข บวนการ
เคลื่อนไหวภ าคประชาสังคมใหม่มุ่งไปที่ค่านิยมใหม่ๆ หรือประเด็นคุณภาพชีวิตที่มากไปกว่าปัจจัยการผลิต ค่าจ้าง
สวัสดิการส ังคม ซึ่งเป็นป ัญหาด ้านเศรษฐกิจ สิทธพิ ื้นฐ าน และก ารม สี ่วนร ่วมท างการเมืองอ ย่างในป ระเทศก ำลังพ ัฒนา
หรือด ้อยพ ัฒนา แต่เป็นประเด็นเรื่องส ิทธิท ี่เท่าเทียมและศ ักยภาพของบ ุคคล ดังน ั้น การต ่อสู้หรือพื้นที่ทางการเมือง
ของขบวนการทางสังคมแบบใหม่จึงเป็นการต่อสู้ในอาณาบริเวณของอัตลักษณ์และวัฒนธรรม หรืออยู่ในพื้นที่ทาง
สังคม มากกว่าเป็นการต่อสู้ในอาณาบริเวณของ การเมืองแ ละเศรษฐกิจ
ในรอบไม่น้อยกว่าสองทศวรรษที่ผ ่านมาการเกิดขึ้นและขยายตัวของขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคม
เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นทั่วโลก ทั้งในประเทศที่พัฒนาแล้ว เช่น กลุ่มประเทศในทวีปอเมริกาเหนือ ยุโรป เอเชีย
และประเทศที่กำลังพัฒนา เช่น ประเทศในทวีปแอฟริกา ลาตินอเมริกา และกลุ่มประเทศในสหภาพโซเวียตเดิม
จนน ักท ฤษฎีบ างคน เช่น ซาโลมอ น (Salomon) มองว่าการร วมกลุ่มของป ระชาชนท ี่เกิดขึ้นอย่างก ว้างข วางนี้เป็นน ัย
ทางการเมืองของช ่วงปลายค ริสต์ศตวรรษที่ 20 ในขณะที่ก ารเกิดขึ้นของรัฐชาติ (nation–state) เป็นสัญลักษณ์ทาง
การเมืองข องช ่วงป ลายค ริสต์ศ ตวรรษท ี่ 1970 บทบาทข องข บวนการเคลื่อนไหวภ าคป ระชาส ังคมในท างการเมืองจ ึงน ับ
เป็นพลังผลักดันท ี่ส ำคัญยิ่งต ่อก ระบวนการพัฒนาประชาธิปไตย ในทางท ฤษฎี บทบาทของข บวนการเคลื่อนไหวภ าค
ประชาสงั คมนน้ั เปน็ สว่ นห นง่ึ ของป ระชาสงั คม (civil society) เปน็ พลงั อสิ ระทอ่ี ยนู่ อกร ะบบร าชการ (extrabureaucratic
forces) ที่ปลอดจ ากการครอบงำโดยร ัฐแ ละภาคธุรกิจ จนถ ูกเรียกว ่าเป็นพลังที่ส าม (the third sector) ที่เคียงข้าง
69 พฤทธิสาณ ชุมพล (2546) อ้างถึงใน ประภาส ปิ่นตบแต่ง อ้างแ ล้ว
70 Lester M. Salomon, “The rise of the nonprofit sector,” Foreign Affairs. 73 (July/August 1994): 109.
ลิขสิทธ์ิของมหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช