Page 277 - สังคมโลก
P. 277
ขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมในสังคมโลก 10-37
อดีตก ลายเป็นป ระเด็นที่มีค วามสำคัญมากย ิ่งข ึ้น ซึ่งม ีผลต ่อพรมแดนความร ู้และกระบวนทัศน์ (Paradigm) ต่อการ
ศกึ ษาในท ุกส าขาว ชิ าเป็นอ ยา่ งย ิ่ง และแ สดงถ งึ ก ารเปลี่ยนก ระบวนท ศั น์ (Paradigm Shift) ในก ารอ ธบิ ายป รากฏการณ์
ในความส ัมพันธ์ร ะหว่างประเทศที่เกิดข ึ้น ดังเช่น แนวคิดค วามส ัมพันธ์ระหว่างป ระเทศห ลายป ระการ เช่น การพ ึ่งพา
อาศัยซ ึ่งก ันและก ันท ี่ส ลับซับซ ้อน (Complex Interdependence) ของเคียวเฮนแ ละน าย (Keohane & Nye) ทำให้
ตัวแ สดงท ีไ่ม่ใชร่ ัฐม ีพ ื้นที่แ ละบ ทบาทในค วามส ัมพันธร์ ะหว่างป ระเทศ ความเปลี่ยนแปลงในป ระเด็นค วามข ัดแ ย้งท าง
สังคม ทีส่ ำคัญเช่น สิ่งแ วดล้อม สิทธมิ นุษยช น ศาสนา เพศ คนช ายข อบ เป็นต้น ทีก่ ลายเป็นป ระเด็นท างการเมือง ทำให้
ขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมม ีบ ทบาทที่สำคัญในช่วงเวลาข องความเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ ในที่นี้ขอกล่าวถึง
เฉพาะขบวนการเคลื่อนไหวภ าคประชาสังคมในด้านส ิ่งแวดล้อมและด้านศ าสนา
ในด้านสิ่งแวดล้อม กลายเป็นประเด็นที่มีความสำคัญตามกระแสโลกที่มุ่งเน้นถึงการอนุรักษ์และการรักษา
สิ่งแ วดล้อม ขบวนการเคลื่อนไหวภาคป ระชาส ังคมซึ่งเกี่ยวข้องกับประเด็นส าธารณะในด้านนี้ท ี่ส ำคัญคือ ขบวนการ
โลกต้องม าก่อน
ขบวนการโลกต้องมาก่อน (Earth First) เป็นขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมที่ถือกำเนิดในมลรัฐ
อริโซนา สหรัฐอเมริกา ใน ค.ศ. 1980 ภายหลังจึงได้ขยายตัวไปทั่วประเทศและทั่วโลก วัตถุประสงค์สำคัญ คือ
การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะป่าไม้ ที่ดินสาธารณะ และความหลากหลายทางชีวภาพ เพื่อการรักษา
ระบบนิเวศน์ทางธรรมชาติให้ดำรงอยู่ตลอดไป สมมติฐานส ำคัญคือ มนุษย์เป็นส่วนหนึ่งของธรรมชาติ ยุทธวิธีการ
ดำเนินง าน คือ การป ิดล้อม การประท้วง เป็นต้น โดยมุ่งเน้นที่ก ารดำเนินการข องรัฐ เช่น การให้ส ัมปทาน การเข้าม า
ตัดไม้เองข องรัฐ เป็นต้น รัฐจึงจับกุมผู้นำห ลายคน ทำให้ผ ู้นำแ ละข บวนการเป็นท ี่ร ู้จักโดยทั่วไปในการเป็นข บวนการ
เรียกร้องสิทธิแบบหนึ่ง ลักษณะสำคัญของขบวนการโลกต้องมาก่อน คือ การมุ่งเน้นการสร้างเครือข่ายแบบโยงใย
มากกว่าก ารจ ัดแบบสายก ารบังคับบ ัญชา ไม่มีก ารรวมศ ูนย์และก ลุ่มแ ต่ละก ลุ่มมีค วามเป็นอิสระสูงในการด ำเนินงาน
จึงมีลักษณะใหญ่และหลวม ขบวนการโลกต้องมาก่อนจึงเป็นกลุ่มประเด็นทางการเมือง (issue group politics)
มากกว่ากลุ่มผลประโยชน์ทางการเมือง (interest group politics) บนพื้นฐานของจิตสำนึกของปัจเจกบุคคล
(individual conscious) แสดงถึง
การรวมกลุ่มแบบหลังสมัยใหม่ที่ไม่เชื่อฟังรัฐของประชาชน (civil disobedience) และมุ่งเน้นการเมือง
เชิงสัญลักษณ์ (symbolic politics) และการเมืองเชิงอิทธิพล (politics of influence) เพื่อเป็นการปลุกจิตสำนึก
และกระตุ้นให้ต ระหนักถึงป ัญหาสิ่งแ วดล้อม67 บทบาทข องขบวนการจ ึงม ีแนวโน้มที่เพิ่มมากข ึ้นในปัจจุบัน
ในด้านศาสนาและความเชื่อ ความแตกต่างทางด้านศาสนาและความเชื่อ ทำให้ขบวนการเคลื่อนไหวภาค-
ประชาส ังคมท างด ้านศ าสนาแ ละค วามเชื่อต ่างม บี ทบาทท ีส่ ำคัญในก ารเผยแ พรแ่ ละส ร้างเครือข ่ายศ าสนาแ ละค วามเชื่อ
ภายห ลังจ ากท ี่ม ีค วามพ ยายามข องป ระเทศต ะวันต กในอ ดีตท ี่พ ยายามเผยแ พร่ศ าสนาม าห ลายศ ตวรรษ การเปิดก ว้าง
ในส มยั โลกาภ วิ ัตน ท์ ำใหข้ บวนการเคลือ่ นไหวภ าคป ระชาส ังคมท างด า้ นศ าสนาแ ละค วามเชือ่ มกี ารเผยแ พรข่ า้ มประเทศ
เช่นกรณี นายซัน เมือง มูน (Sun Myung Moon) ผู้เคร่งศาสนาในเกาหลีใต้ เผยแพร่ความเชื่อในสหรัฐอเมริกา
เป็นต้นการเผยแ พร่ค วามเชื่อด ้านศ าสนาส มัยใหม่ส ่วนห นึ่งท ำให้ต ้องก ำหนดย ุทธวิธีด ้วยก ารส ร้างส ัมพันธ์ก ับร ัฐหรือ
เจ้าหน้าที่ข องรัฐเพื่ออำนวยค วามสะดวกในก ารดำเนินก าร แต่หากขบวนการศาสนาแ ละความเชื่อปฏิเสธก ารเข้าดูแล
ของร ฐั อ าจท ำใหร้ ฐั เขา้ จ ดั การอ ยา่ งใดอ ยา่ งห นึง่ โดยเฉพาะอ ยา่ งย ิง่ ห ากค วามเชือ่ ม ลี กั ษณะท ที่ า้ ทายอ ำนาจร ฐั เชน่ ความ
67 Timothy W. Luke, “Ecological Politics and local struggles: Earth First as an environmental resistance movement,”
Current Perspectives in Social Theory 14 pp. 241-267 และโปรดอ่านรายล ะเอียดใน ไชยร ัตน์ เจริญส ินโอฬาร ขบวนการเคลื่อนไหวภ าค
ประชาสังคมรูปแบบใหม่ ขบวนการเคลื่อนไหวประชาส ังคมในต ่างประเทศ หน้า 18-27
ลิขสทิ ธข์ิ องมหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช