Page 272 - สังคมโลก
P. 272

10-32 สังคมโลก

เรอ่ื งท​ ่ี 10.2.2
ความส​ มั พันธข์​ องข​ บวนการเ​คลอ่ื นไหวภ​ าคป​ ระชา​สงั คม​​
กับความ​เปลยี่ นแปลงข​ อง​สงั คมโ​ลก

       ใน​ช่วงห​ ลาย​ปี​ที่​ผ่าน​มา​นี้ มี​ขบวนการ​เคลื่อนไหวภ​ าค​ประชา​สังคม​ที่​ต่อ​ต้าน​องค์การ​ระดับ​โลกอ​ ย่างองค์การ​
การ​ค้า​โลก กลุ่ม​ประเทศ​อุตสาหกรรม​ชั้น​นำ​ของ​โลก (The Group of Eight: G8) กองทุน​การ​เงิน​ระหว่าง​ประเทศ​
หรือธนาคารโลก เป็นต้น การ​เคลื่อนไหว​ดัง​กล่าว​เป็น​ผล​ที่​เกิด​จาก​การ​ที่​เครือ​ข่าย​อินเทอร์เน็ต​มี​ความ​สามารถ​ใน​
การ​ที่​จะ​สร้าง​การ​ติดต่อ​สื่อสาร​ระหว่างช​ าว​โลก​และ​สาธารณชนไ​ด้​อย่าง​กว้าง​ขวาง พื้นที่​สาธารณะ (public sphere)
ที่แท้จริงไ​ด้เ​กิดข​ ึ้น​มา พร้อม​กับก​ ารข​ ับเ​คลื่อนข​ องกองท​ ัพ​ออนไลน์ (Net Armies) ขบวนการ​เคลื่อนไหวภ​ าค​ประชา​
สังคมท​ ีด่​ ำเนนิ ง​ านผ​ ่านอ​ ินเทอร์เน็ตก​ ลายม​ าเ​ปน็ อ​ ีกท​ างเ​ลอื กห​ นึง่ ใ​นก​ ารส​ รา้ งจ​ ดุ แ​ ข็งข​ องก​ ระบวนการเ​สรีนยิ มใ​หมท​่ ีถ่​ ูก
โ​อบ​ล้อม​ไปด​ ้วย​ระบบ​ทุนข​ ้ามช​ าติ (Transnational Capital)54

       อินเทอร์เน็ต​กลาย​มา​เป็น​เครื่อง​มือ​สำคัญ​ที่​ใช้​ใน​การ​ขับ​เคลื่อน​ขบวนการ​เคลื่อนไหว​ภาค​ประชา​สังคม​อย่าง​
ต่อเ​นื่องเ​พิ่มข​ ึ้นเ​รื่อยๆ และไ​ด้ถ​ ูกน​ ำม​ าใ​ช้ใ​นห​ ลายๆ จุดป​ ระสงค์ใ​นก​ ารข​ ับเ​คลื่อน เว็บไ​ซต์ห​ นึ่งๆ อาจจ​ ะใ​ช้เ​ป็นส​ ถานท​ ี​่
ที่ก​ ำหนดเ​ป้าประสงค์​ของ​ขบวนการ​เคลื่อนไหว การก​ ำหนดร​ าย​ชื่อ​อีเมล์​อาจ​นำม​ าใ​ช้​เป็น​ช่อง​ทางในก​ าร​คัด​สรร​สมาชิก​
ผเู​้ ขา้ ร​ ว่ มใ​นข​ บวนการเ​คลือ่ นไหว อยา่ งไรก​ ต็ าม ยงั ม​ ค​ี ำถามอ​ ยวู​่ า่ อนิ เทอรเ์ นต็ ส​ ามารถจ​ ะก​ อ่ ใ​หเ​้ กดิ ข​ บวนการเ​คลือ่ นไหว​
ภาค​ประชา​สังคม​ใน​รูป​แบบ​ใหม่​ได้​หรือ​ไม่ ดัง​นั้น ​ใน​เนื้อหา​ส่วน​ที่​เกี่ยวข้อง​กับ​ความ​สัมพันธ์​ระหว่าง​ขบวนการ​
เคลื่อนไหว​ภาค​ประชา​สังคม​กับ​การ​เปลี่ยนแปลง​ของ​สังคม​โลก​นี้ จะ​กล่าว​ถึง​บทบาท​ของ​เทคโนโลยี​สารสนเทศ​และ​
การ​สื่อสาร (ICT) ที่​เข้า​มา​เกี่ยวข้องก​ ับข​ บวนการเ​คลื่อนไหว​ภาคป​ ระชาส​ ังคม​ใน​ยุค​โลกาภ​ ิ​วัตน​ ์​เป็น​สำคัญ

       ผลกร​ ะท​ บห​ ลักข​ องเ​ทคโนโลยใี​หมใ่​นข​ บวนการเ​คลื่อนไหวภ​ าคป​ ระชาส​ ังคมน​ ั้นเ​ป็นการส​ ร้างสรรคใ์​นร​ ูปแ​ บบ​
ของ​การ​ต่อ​ต้าน​อย่าง​บริสุทธิ์​ใจ ซึ่ง​เริ่ม​ต้น​จาก​การ​แสดง​ความ​เห็น​หรือ​ข้อความ​ลง​ใน​เครือ​ข่าย​ออนไลน์​ซึ่ง​มี​ลักษณะ​
สังคม​เป็นแ​ บบแ​ นว​ราบ จึงท​ ำให้​มีก​ าร​เชื่อมต​ ่อส​ ัมพันธ์​กับก​ ลุ่ม​ผลป​ ระโยชน์​ที่ม​ ี​เป้าห​ มายเ​ดียวกัน

       เทคโนโลยีส​ ารสนเทศจ​ ึงม​ ีบ​ ทบาทส​ ำคัญใ​นก​ ารกร​ ะจ​ ายข​ ้อความท​ ี่ม​ ีเ​ป้าห​ มายอ​ ย่างเ​ดียวกัน รูปแ​ บบใ​หม่ข​ อง​
ขบวนการเ​คลื่อนไหวภ​ าคป​ ระชาส​ ังคมใ​นย​ ุคโ​ลกาภ​ วิ​ ัตน​ น์​ ีอ้​ าจท​ ำใหน้​ ักท​ ฤษฎที​ างส​ ังคมศาสตรอ์​ าจต​ ้องท​ บทวนร​ ูปแ​ บบ​
ของข​ บวนการเ​คลื่อนไหว​ภาค​ประชา​สังคมใ​หม่อ​ ีกค​ รั้ง

       สาเหตุ​หลัก​ของ​การข​ ับ​เคลื่อน​ให้​เกิด​ขบวนการ​เคลื่อนไหวภ​ าคป​ ระชาส​ ังคมแ​ บบอ​ อนไลน์​ก็​คือ ประการ​แรก
มคี​ วามค​ ับข​ ้องใจแ​ ละก​ ารก​ ดขีข่​ องส​ ื่อก​ ระแสห​ ลัก เช่น โทรทัศนข์​ องร​ ัฐบาล กลุ่มข​ บวนการเ​คลื่อนไหวภ​ าคป​ ระชาส​ ังคม​
จึง​พยายาม​ที่จ​ ะ​สร้างช​ ่อง​ทาง​กระจายเ​สียง​ของ​ตนเองผ​ ่าน​สื่อ​อินเทอร์เน็ต

       การ​วิเคราะห์​เชิง​ชาติ​พันธุ์​วรรณ​า (Ethnographic analysis) ได้​พบ​ว่า การ​ใช้​อินเทอร์เน็ต​ได้​เปิด​ช่อง​ทาง​
ให้​ผู้คนไ​ด้ส​ ร้างช​ ีวิตท​ างส​ ังคมแ​ ละ​รักษาป​ ้องกันไ​ว้​ซึ่งพ​ ื้นที่​สาธารณะ​อย่าง​แท้จริง หรือวัฒนธรรม​ของ​สาธารณะ ซึ่ง​ใน​
โลก​แห่ง​ความ​จริง​ได้​ถูก​คุกคาม​และ​ปิด​กั้น​โดย​พลัง​ของ​แรง​ทาง​เศรษฐกิจ​และ​การเมือง​กระแส​หลัก แต่​อินเทอร์เน็ต​

         54 Langman, Lauren. and Morris, Douglas, Globalization and Social Movements: The Impact of The WSF. (Paper
presented at the annual meeting of the American Sociological Association, Atlanta Hilton Hotel, Atlanta, GA, Aug 16, 2003)
Retrieved on 26 Dec 2010 http://www.allacademic.com/meta/p106526_index.html

                             ลขิ สทิ ธขิ์ องมหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธิราช
   267   268   269   270   271   272   273   274   275   276   277