Page 270 - สังคมโลก
P. 270
10-30 สังคมโลก
ฉันทานุมัติเกิดข ึ้นได้ไม่ย ากห ากส มาชิกทุกค นภ ายในกลุ่มม ีค วามเป็นอ ันห นึ่งอ ันเดียวกันแ ละข จัดค วามแ ตกต ่างอ ื่นๆ
เช่น ระดับก ารศ ึกษา และส ถานภาพทางเศรษฐกิจและส ังคมออกไป
หลักส ำคัญข องป ระชาธิปไตยแ บบม ีส ่วนร ่วมค ือ การท ี่ท ุกค นม ีส ่วนเกี่ยวข้องก ับท ุกข ั้นต อนข องก ระบวนการ
ตัดสินใจอย่างเต็มที่ และใช้วิธีการประชุมแบบหันหน้าเข้าหากันโดยไม่จำกัดเวลาในการถกเถียงเพื่อให้บรรลุ
การตัดสินใจแบบฉันทานุมัติ การบรรลุจุดประสงค์ดังกล่าวจะช่วยให้กลุ่มสามารถรักษาความเสมอภาคและความ
เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันได้50 นอกจากนั้นวิธีการประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมยังก่อให้เกิดข้อดีอีกข้อหนึ่ง นั่นคือมี
ส่วนช ่วยใหแ้ ต่ละป ัจเจกช นส ามารถเป็นพ ลเมืองท ีด่ ขี องป ระเทศได้ และเป็นท ีย่ อมรับว ่าการม สี ่วนร ่วมในก ารต ัดสินใจ
เป็นพื้นฐานของการฝึกการเรียนรู้ให้เห็นถึงความแตกต่างของบุคคลได้เป็นอย่างดี และในทางปฏิบัติของการมี
ส่วนร ่วมน ั้น บุคคลในก ลุ่มส ามารถม ีอ ิทธิพลแ ละค วบคุมส ิ่งต ่างๆ ได้ด ้วยต ัวข องพ วกเขาเอง ความรู้สึกแ บบน ี้จ ะท ำให้
พวกเขารู้สึกว่าตนเองเป็นคนที่มีประสิทธิภาพทางการเมือง (political efficacy) และจะทำให้ความรู้สึกแปลกแยก
ทางการเมือง (political alienation) ลดน้อยล งไป จนทำให้เกิดค วามป รารถนาที่จ ะเข้าม าม ีส ่วนร่วมในชุมชนท างการ
เมืองข องต นเองอ ย่างต ื่นตัวมากขึ้น โดยท างหนึ่งที่ทำได้คือ การเข้าเป็นส มาชิกข องอ งค์กรพัฒนาเอกชน
ขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมใหม่เป็นภาพสะท้อนที่หลายฝ่ายคาดหวังว่าจะเป็นพลังของ
ประชาธปิ ไตยแ บบม สี ว่ นร ่วม เปน็ ค กู่ รณที จี่ ะม าค านอ ำนาจก ับภ าคร ฐั แ ละภ าคธ ุรกิจเอกชน โดยม แี นวคิดเรื่องก ารเมอื ง
ภาคประชาชน เป็นภาพสะท้อนของขบวนการทางสังคมแบบใหม่ (New Social Movement) อันมีลักษณะสำคัญ
ได้แก่51
1) จำนวนคนเข้าร ่วมขบวนการที่หลากหลาย ข้ามช นชั้น
2) ขบวนการเคลื่อนไหวมีความหลากหลายทางความคิดและค่านิยม ไม่มีอุดมการณ์หลักที่ครอบงำ
จิตสำนึกดังเช่นข บวนการท างสังคมแบบเก่า
3) ขบวนการมีมิติใหม่ของอัตลักษณ์ (Identity) ในแง่ความเชื่อ สัญลักษณ์ การให้ความหมายใหม่
ของว ิถีชีวิตท ี่ต ่างไปจากการเน้นเฉพาะมิติทางเศรษฐกิจ และว ิธีก ารผ ลิตเพียงอ ย่างเดียว
4) เน้นบ ทบาทของปัจเจกชนม ากกว่าปฏิบัติก ารรวมห มู่หรือกลไกก ารจ ัดต ั้งเพียงอ ย่างเดียว
5) เปน็ การเคลือ่ นไหวท สี่ ะทอ้ นช วี ติ การแ สวงหาม ติ ิ และค วามห มายข องช วี ติ แ บบใหมห่ รอื ก ารด ำรงอ ยู่
แบบใหม่ มากกว่าการแ สวงหาอ ำนาจต ่อรองเพื่ออิทธิพลห รือก ารเข้าไปม ีอ ำนาจในการต ัดสินใจทางการเมืองแ บบเดิม
6) เนน้ ก ารว พิ ากยร์ ะบบ ตอ่ ต า้ นส ถาบนั แ ละว ถิ สี งั คมท ดี่ ำรงอ ยู่ ยดึ ม ัน่ ในอ หงิ สธ รรม ไมใ่ ชค้ วามร นุ แรง
หรือยึดอ ำนาจรัฐ
7) ประเด็นของการเคลื่อนไหวปฏิเสธการเมืองกระแสหลัก โดยเสนอการเมืองแนวใหม่ที่มีคุณภาพ
เน้นหลักก ารใหม่ เช่น เป็นมิตรก ับสิ่งแวดล้อมมากข ึ้น
8) ใหค้ วามส ำคญั แ ละใหค้ วามเปน็ อ สิ ระก บั ท อ้ งถ ิน่ ปฏเิ สธอ ำนาจร ฐั ส ว่ นก ลาง หรอื ก ารร วมศ นู ยอ์ ำนาจ
จากส่วนก ลาง
บทบาทของขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมม ี 2 ลักษณะ คือ
1) บทบาทในก ารเสรมิ ส รา้ งค วามเปน็ ป ระชาธปิ ไตย (agent for democratization) กลา่ วค อื ขบวนการ
เคลือ่ นไหวภ าคป ระชาส งั คมเป็นอ ำนาจส ำคญั ข องภ าคป ระชาส งั คมท ีส่ ามารถต อ่ ร องก ับอ ำนาจร ฐั ขบวนการเคลือ่ นไหว
50 Ibid., pp. 46-55.
51 Chantal Mouffe, ed., Dimensions of Radical Democracy: Pluralism, Citizenship, Community. London: Verso, 1991),
p. 25.; D. Trend, ed, Radical Democracy: Identity, Citizenship and The State. New York: Routledge, 1996, p.15.
ลิขสิทธข์ิ องมหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช