Page 274 - สังคมโลก
P. 274

10-34 สังคมโลก

เหน็ ว​ า่ เ​ปน็ ศ​ ตั รเ​ู พราะใ​หก้ ารพ​ กั พงิ ผ​ กู​้ อ่ การร​ า้ ย เปน็ ท​ ีม่ าข​ องส​ งครามส​ หรฐั อเมรกิ าก​ บั อ​ ริ กั ทำใหป​้ ระเทศพ​ นั ธมติ รห​ ลาย​
ประเทศต​ ้องส​ ่งท​ หาร​เข้าส​ ู่ส​ งคราม และ​เป็น​ที่มาข​ อง​การต​ ่อต​ ้านก​ ารท​ ำส​ งคราม เครือ​ข่ายท​ ี่​สำคัญ เช่น กลุ่ม​พันธมิตร​
ยุติ​สงคราม (Stop War Coalition) ในป​ ระเทศ​อังกฤษ56 เป็นต้น

       ตัวอย่างท​ ี่ส​ อง ขบวนการ​นาซี​ใหม่ (Neo-Nazi movement) มา​จากค​ วาม​ขัด​แย้ง​ทางด​ ้านเ​ศรษฐกิจ​ภายห​ ลัง​
การร​ วมเ​ยอรมนี ใน ค.ศ. 1990 ทีท่​ ำใหค้​ นเ​ยอรมันต​ ะวันอ​ อกเ​ดิมต​ กงาน เพราะม​ คี​ นในป​ ระเทศย​ ุโรปต​ ะวันอ​ อกม​ าแ​ ย่ง​
งานใ​น​เยอรมนีท​ ั้งก​ ่อนแ​ ละ​หลังร​ วม​ประเทศ โดย​เฉพาะช​ าวเ​ต​อร์ก​ที่​อยู่​ในเ​ยอรมนี​กว่า 1.7 ล้าน​คน สมาชิก​ขบวนการ​
นาซี​ใหม่​มอง​ว่า คน​ต่าง​ชาติ​เหล่า​นี้​ส่วน​ใหญ่​มา​ทำงาน​ใน​วัย​หนุ่ม​สาว​ทำให้​มี​บุตร​และ​บุตร​จำนวน​มาก​ไม่​สามารถ​พูด​
ภาษา​พื้น​เมือง​ได้​แต่​พูด​ภาษา​และ​รับ​วัฒนธรรม​เยอรมนี แย่ง​งาน​ชาว​เยอรมัน ทำให้​ชาว​เยอรมันตกงาน นำ​มา​สู่​การ​
ต่อ​ต้าน​ตั้งแต่ก​ าร​เดิน​ขบวน​ประท้วง การ​ทำลาย​อาคารส​ ถาน​ที่ การ​ทำร้าย​ร่างกาย การ​สังหาร เป็นต้น มี​การนำ​ลัทธิ​
นาซีม​ าใ​ช้เ​ป็นเ​ครื่องม​ ือ สัญลักษณ์ส​ ำคัญ คือ เครื่องห​ มายส​ ว​ ัสด​ ิกะ​ อันเ​ป็นเ​ครื่องหมายท​ ี่เ​ป็นส​ ัญลักษณ์ข​ องน​ าซีส​ มัย​
สงครามโลก​ครั้งท​ ี่ส​ อง และม​ ี​การ​กำหนด​สัญลักษณ์​อื่น เช่น การ​โกน​หัว (Skinheads) เป็นต้น และ​สมาชิก​ขบวนการ​
แพร่ก​ ระจายใ​นห​ มู่ช​ าว​เยอรมัน ประเทศ​ในย​ ุโรปต​ ะวัน​ออก​หลาย​ประเทศ เป็นต้น

       มิติ​ด้าน​เศรษฐกิจ ปรากฏการณ์​ใน​โลกา​ภิ​วัต​น์​ทำให้​เกิด​ความ​เปลี่ยนแปลง​ใน​ทุก​ส่วน​ทาง​ด้าน​เศรษฐกิจ
ด้วย​รากฐาน​แนวคิด​เสรีนิยม​ทาง​เศรษฐกิจ ทำให้​มี​ลักษณะ​สำคัญ คือ เป็นการ​พึ่งพา​อาศัย​ซึ่ง​กัน​และ​กัน (Interde-
pendence) ทาง​ด้าน​เศรษฐกิจ​ใน​สังคม เกิด​กา​รบูร​ ณา​การ​ทาง​เศรษฐกิจ​ระหว่าง​ประเทศ ทั้ง​ทาง​ด้าน​การ​ค้าแ​ ละ​การ​
ลงทุน ดังก​ ารจ​ ัด​ตั้งส​ ถาบัน​ทางการ​ค้าร​ ะหว่างป​ ระเทศ คือ องค์การ​การค​ ้า​โลก (World Trade Organization: WTO)
การ​เพิ่มบ​ ทบาทข​ องส​ ถาบัน​ทาง​เศรษฐกิจท​ ี่ม​ ี​อยู่​เดิม คือ กองทุน​การ​เงิน​ระหว่างป​ ระเทศ (International Monetary
Fund: IMF) เป็นต้น การ​ถือ​กำเนิด​ของ​กลุ่ม​ความ​ร่วม​มือ​ทาง​เศรษฐกิจ​ใน​ระดับ​ภูมิภาค เช่น เอ​เปก (APEC) การ​
จัด​ตั้ง​เขตก​ าร​ค้าเ​สรี เช่น เขต​การ​ค้า​เสรีอ​ เมริกาเหนือ (NAFTA) เขตก​ าร​ค้าเ​สรี​อาเซียน (AFTA) กลุ่ม​ความร​ ่วมม​ ือ​
ระดับ​อนุภ​ ูมิภาค เช่น โครงการ​สามเหลี่ยม​เศรษฐกิจ​ของอ​ ินโดนีเซีย มาเลเซีย และป​ ระเทศไทย (IMT-GT) ตลอดจน​
การ​ประชุม​ที่​สำคัญ อาทิ การ​ประชุม​เวที​เศรษฐกิจ​โลก (World Economic Forum: WEF) ที่​เริ่ม​ประชุม​ตั้งแต่
ค.ศ. 1971 กลุ่ม​ประเทศ​อุตสาหกรรม​ชั้นน​ ำ ที่​แต่เ​ดิม คือ กลุ่ม​ประเทศ G-7 แต่ใ​น​ปัจจุบันเ​ป็น G-20 เป็นต้น และ​การ​
เกิด​ระบบ​การ​ผลิต​ระดับโ​ลก

       อรชุน อัป​ปา​ดู​รัย (Arjun Appadurai) เสนอ​แนวคิด​การ​ไหล​เวียน​ของ​โลกา​ภิ​วัต​น์​ที่​มี​ความ​เกี่ยวข้อง​กับ​
เศรษฐกิจใ​นส​ ี่​ด้าน​หลัก คือ57 การ​ไหล​ของ​คน ได้แก่ นัก​ท่องเ​ที่ยว แรงงานอ​ พยพ ผู้​ลี้ภ​ ัย การไ​หล​ของเ​ครื่องจักร การ​
ผลิต โรงงาน การ​ไหล​ของท​ ุน​ในต​ ลาด​การ​ค้าเ​งิน ตลาด​หุ้น และก​ าร​ไหล​ของ​ภาพล​ ักษณ์ ข้อมูล​ข่าวสาร ซึ่ง​ผลิต​และ​
กระจาย​โดย​หนังสือพิมพ์ นิตยสาร โทรทัศน์ และ​ภาพยนตร์ บรรษัท​ข้าม​ชาติ​ได้​อาศัย​ระบบ​เศรษฐกิจ​แบบ​เสรีนิยม​
ในโ​ลกาภ​ ิว​ ัตน​ ์ใ​นก​ ารแ​ สวงหาค​ วามม​ ั่งคั่งเ​ป็นอ​ ย่างม​ าก โดยเ​ฉพาะอ​ ุตสาหกรรม​ที่เ​กี่ยวข้องก​ ับอ​ ุตสาหกรรม​ขนาดใ​หญ่
และ​เทคโนโลยี​สารสนเทศ ทำให้บ​ รรษัทข​ ้าม​ชาติเ​ป็น​องค์การแ​ ละ​สถาบัน​ที่​ได้​รับ​ประโยชน์​มากท​ ี่สุด การ​แพร่​กระจาย​
ของแ​ นวค​ ิดโ​ลกาภ​ ิว​ ัตน​ ์ท​ างด​ ้านเ​ศรษฐกิจ ที่แ​ ฝงด​ ้วยค​ ่าน​ ิยมเ​พียงด​ ้านเ​ดียว เช่น ลัทธิท​ ุนนิยม เป็นต้น ทำให้ข​ บวนการ​
เคลื่อนไหวภ​ าคป​ ระชาส​ ังคมจ​ ำนวนม​ ากต​ ่างป​ ฏิเสธค​ วามม​ อี​ ยูจ่​ ริงแ​ นวทางเ​ดียว เท่ากับเ​ป็นการป​ ฏิเสธก​ ระแสห​ ลักแ​ ละ​
โลกา​ภิว​ ัต​น์ และ​แสวงหา​ทาง​เลือก​ที่ห​ ลาก​หลาย​ในโ​ลกาภ​ ิ​วัตน​ ์ (Alternative Globalization)

         56 ปยิ ะม​ ติ ร ลลี าธ​ รรม “ขบวนการต​ อ่ ต​ า้ นส​ งครามใ​นอ​ งั กฤษก​ บั ช​ าวม​ สุ ลมิ : บทเ​รยี นบ​ างป​ ระการ” ฟา้ เ​ดยี วกนั ปท​ี ี่ 2 ฉบบั ท​ ี่ 3 กรกฎาคม-
กันยายน 2547 หน้า 228-230	

         57 ดา​ริณ อินทร์​เหมือน “หลัง​การ​ล่ม​สลาย​ของ​สังคมนิยม​ที่​เกิด​ขึ้น​จริง” ฟ้า​เดียวกัน ปี​ที่ 1 ฉบับ​ที่ 1 เดือน​มกราคม-เมษายน 2546
หน้า 149	

                             ลขิ สิทธิ์ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
   269   270   271   272   273   274   275   276   277   278   279