Page 276 - สังคมโลก
P. 276
10-36 สังคมโลก
ขบวนการตอ่ ส้เู พอ่ื ความยตุ ธิ รรมของโลก มีวตั ถปุ ระสงค์สำคญั ในการสรา้ งประชาธปิ ไตย ท่เี นน้ การมีสว่ นรว่ ม
การตัดสินใจในระดับรากหญ้า ความหลากหลาย (Diversity) ที่ประกอบด้วยโลกหลายใบไม่ใช่โลกใบเดียว การ
กระจายอำนาจ (Decentralization) ที่เป็นการกระจายอำนาจการวางแผนการผลิต และเป็นการเพิ่มอำนาจให้
ชุมชน อธิปไตย ที่เป็นการกำหนดการตัดสินใจได้เองโดยไม่ต้องพึ่งพาต่างประเทศหรือบรรษัทข้ามชาติ และการ
เข้าถ ึง (Access) ทรัพย์สิน ทรัพยากร ปฏิเสธก ารค วบคุมท รัพย์สินข องเอกชน64 เป็นต้น และเมื่อร วมก ันเป็นข บวนการ
เคลื่อนไหวภ าคป ระชาส ังคมร ะดับร ะหว่างป ระเทศย ังม ีบ ทบาทส ำคัญในก ารเปลี่ยนแปลงส ังคมโลกห ลายป ระการ เช่น
การล ้มล ้างค วามต กลงว ่าด ้วยก ารล งทุนห ลายฝ ่าย (Multilateral Agreement on Investment: MAI) ใน ค.ศ. 2001
เป็นต้น และเวทีท ี่สำคัญส ำหรับการประชุมของข บวนการต่อสู้เพื่อความย ุติธรรมของโลก ที่ประกอบด ้วยสมาชิกที่มา
จากท ั้งป ระเทศพ ัฒนาแ ล้วแ ละก ำลังพ ัฒนา เพื่อเป็นพ ื้นที่ส ำหรับข บวนการเคลื่อนไหวภ าคป ระชาส ังคมร ะดับร ากห ญ้า
คือ เวทีส ังคมโลก
การถือกำเนิดข องเวทีส ังคมโลก (World Social Forum: WSF) ที่เป็นพ ื้นที่ในก ารพบปะแ ละร่วมประชุมใน
การต อ่ ต า้ นล ทั ธเิสรีนิยมใหมแ่ ละท ุนเข้มข น้ (Intensive Capitalism) ของข บวนการเคลื่อนไหวภ าคป ระชาส ังคมร ะดับ
ระหว่างประเทศ คือ ขบวนการต่อสู้เพื่อความยุติธรรมของโลก ภายใต้แนวคิดโลกอีกใบหนึ่งที่เป็นไปได้ (Another
World is Possible) เพื่อส ร้างโลกาภ ิว ัตน์ทางเลือก ด้วยก ารกำหนดกฎบัตรเวทีส ังคมโลก (Charter of Principles)
ทมี่ เีนือ้ หาส าระส ำคัญป ระกอบด ว้ ย การส รา้ งท างเลือกในโลกาภ วิ ัตน ท์ เี่ป็นเอกภาพ การเคารพส ิทธมิ นุษยช น การเคารพ
ในสิทธิทางเพศในทุกชนชาติ การให้ความสำคัญกับสิ่งแวดล้อม การประชุมทุกปีเริ่มตั้งแต่ ค.ศ. 2001 เพื่อต่อต้าน
กระแสโลกาภิวัตน์ที่เอื้อให้แก่องค์การระหว่างประเทศที่สำคัญคือ ธนาคารโลก องค์การการค้าโลก กองทุนการเงิน
ระหว่างประเทศ และธนาคารเพื่อก ารพัฒนาแห่งเอเชีย กลุ่มบรรษัทธุรกิจ (Corporate Globalization) หรือบรรษัท
ข้ามช าติเป็นหลัก การป ระชุมจึงม ีการจัดคู่ข นานกับการป ระชุมเวทีเศรษฐกิจโลก (WEF)65
ความแ ตกต า่ งข องข บวนการเคลื่อนไหวภ าคป ระชาส งั คมท ปี่ ระกอบเป็นข บวนการต อ่ สูเ้พือ่ ค วามย ุติธรรมข อง
โลกท ีพ่ บปะในเวทสี ังคมโลกแ บ่งอ อกเป็นห ลายด ้านห รือห ลายม ิติ ทั้งท างด ้านแ รงงาน สิ่งแ วดล้อม หรืออ ื่นใด หรือแบ่ง
ออกเปน็ กลุม่ ต อ่ ต า้ นท นุ นยิ ม ทแี่ บง่ อ อกเปน็ กลุม่ ต อ่ ต า้ นก ลุม่ ท นุ ด ว้ ยแ นวคดิ ท อ้ งถ ิน่ น ยิ ม กลุม่ ท ตี่ อ่ ต า้ นท นุ นยิ มด ว้ ย
แนวทางป ฏริ ปู กลุม่ ต ่อต า้ นท นุ นิยมด ้วยแ นวทางก ารป กครองต นเอง ความแ ตกต า่ งท างด ้านอ ุดมการณ์ ทีป่ ระกอบด ้วย
ทั้งฝ่ายข วา ฝ่ายเป็นกล าง และฝ่ายซ ้ายที่ม ีขบวนการเคลื่อนไหวภ าคประชาส ังคม ที่สำคัญคือ ขบวนการเคลื่อนไหว
ภาคประชาสังคมที่เป็นขบวนการระหว่างประเทศที่ส ี่ (Fourth International) เป็นกล ุ่มที่นิยมทรอสกี้ และม ีองค์กร
เคลื่อนไหวท ี่เข้มแข็ง เช่น ในฝ รั่งเศส เป็นต้น และกลุ่มฝ ักใฝ่สังคมนิยมระหว่างประเทศ (International Socialist
Tendency) ที่ม ีค วามเคลื่อนไหวในอ ังกฤษ ฝรั่งเศส เป็นต้น เพื่อเคลื่อนไหว เช่น การเลือกพรรคแรงงาน การต ่อต้าน
สงคราม เป็นต้น ความแตกต่างของขบวนการสังคมเหล่านี้ทำให้การต่อสู้ ยุทธวิธีมีความแตกต่างกัน และทำให้เกิด
คำถามภายห ลังก ารต่อสู้บ รรลุผ ลถึงท ิศทางและแ นวโน้มความเปลี่ยนแปลงท ี่จะม ีขึ้นในอนาคต66
มิติด้านสังคม การเข้าสู่โลกาภิวัตน์ทำให้มีความเปลี่ยนแปลงทางด้านสังคม ที่ทำให้ประเด็นปัญหาทางด้าน
สังคมก ลายเป็นป ระเด็นท างด ้านก ารเมือง กล่าวอ ีกน ัยห นึ่ง การเก็บก ดป ิดก ั้น ความเป็นอ ื่น และก ารผ ลิตซ ้ำข องร ัฐแ ละ
องค์การห รือส ถาบันร ะหว่างป ระเทศ ทำให้ข บวนการเคลื่อนไหวภ าคป ระชาส ังคมม ีบ ทบาทอ ย่างจ ำกัดเพราะถ ูกบ ดบัง
ด้วยค วามข ัดแ ย้งท างด ้านอ ุดมการณ์ ภายห ลังคว ามข ัดแ ย้งส ิ้นส ุดล งน ำม าส ู่ก ารป ลดป ล่อยป ระเด็นท ี่เคยถ ูกก ดท ับใน
64 กองบรรณาธิการ อ้างแล้ว หน้า 23
65 กนกรัตน์ เลิศช ูสก ุล “เหลียวหลัง แลห น้า เวทีส ังคมโลก” ฟ้าเดียวกัน ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนเมษายน-มิถุนายน 2546 หน้า 109-129
66 ปิยะมิตร ลีลาธ รรม อ้างแล้ว หน้า 137-148
ลิขสิทธ์ิของมหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช