Page 286 - สังคมโลก
P. 286
10-46 สังคมโลก
ปัญหาแ ละอ ุปสรรคท ี่เกิดจ ากป ัจจัยภ ายนอกป ระการส ุดท้าย คือ สื่อมวลชน กล่าวค ือ ถ้าส ื่อมวลชนให้ค วาม
สนใจแ ละให้การส นับสนุนข บวนการเคลื่อนไหวภ าคป ระชาส ังคมด ้วยก ารนำเสนอข ่าว กจ็ ะเป็นการต อบโตน้ โยบายข อง
รัฐห รือเหตุการณท์ ีเ่กิดข ึ้นในส ังคมอ ย่างม คี วามต ่อเนื่อง และม อี ำนาจ แตห่ ากส ื่อร ะดับช าตยิ ังใหค้ วามส นใจในป ระเด็น
ทตี่ อ่ สเู้ คลือ่ นไหวน อ้ ยม าก กจ็ ะส ง่ ผ ลต อ่ ก ระแสต อบร บั ต อ่ ข บวนการเคลือ่ นไหวภ าคป ระชาส งั คมเชน่ เดยี วกนั กลา่ วคอื
ไม่มีก ารเปิดป ระเด็นสู่ส าธารณะเท่าที่ควร
ปัญหาและอุปสรรคของขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมในสังคมโลกถูกวิพากษ์วิจารณ์ในแง่ของ
แนวคิดก ารเคลื่อนไหวในร ะดับโลกน ั้นเป็นการย ากท ี่จ ะก ่อให้เกิดค วามเป็นอ ันห นึ่งอ ันเดียวกันได้อ ย่างท ี่ต ั้งเป้าห มาย
เอาไว้ เนื่องจากมีข ้อจ ำกัดเป็นต้นว่า แนวคิดช าตินิยม แนวคิดเหยียดเชื้อชาติ และก ารค รอบงำของระบบ “การท ำให้
เป็นตะวันตก” ซึ่งทำให้ขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมแบบที่สร้างความร่วมมือกันระหว่างคนในโลกอย่าง
แท้จริงไม่อ าจประสบค วามส ำเร็จได้ด ังท ี่กำหนดเป้าหมายไว้
ความเสื่อมถ อยข องข บวนการท ี่ท ำให้ส ูญเสียอ ิทธิพลและพลังการต ่อสู้ มีสาเหตุ 5 ประการ ประกอบด ้วย
ประการแรก การที่สมาชิกไม่เห็นความจำเป็นที่ต้องต่อสู้ต่อไปเพราะวัตถุประสงค์บรรลุแล้ว แต่ในทาง
ปฏิบัติ การบรรลุวัตถุประสงค์หนึ่งทำให้ขบวนการจะขับเคลื่อนเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์อื่นที่สูงกว่าหรือขบวนการ
มีว ัตถุประสงค์อ ื่นค วบคู่กันไปด้วยเสมอ ทำให้การเสื่อมถอยม าจากเหตุผลอ ื่นมากกว่า
ประการท สี่ อง ปญั หาภ ายใน อาทิ การข ดั ก นั ในผ ลป ระโยชน์ ความข ดั แ ยง้ ในห มผู่ ูน้ ำ การข าดแคลนท รพั ยากร
ความค ลุมเครือในว ัตถุประสงค์ เป็นต้น
ประการที่ส าม การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างอำนาจภายใน อาทิ การแทรกแซงจากภายนอกท ี่ให้การสนับสนุน
ทำให้วัตถุประสงค์เบี่ยงเบนไป เป็นต้น
ประการที่ส ี่ การก ดดันจากภ ายนอก ที่สำคัญ จากเจ้าหน้าที่ข องรัฐด ้วยการข ่มขู่ คุกคาม จับกุม ลอบส ังหาร
เป็นต้น
ประการท ี่ห ้า การเปลี่ยนแปลงข บวนการก ลายเป็นอ งค์การข นาดใหญ่ในก ระแสห ลักท ำให้ม ีค วามข ัดแ ย้งก ับ
ส่วนอื่นในส ังคมที่เคยส นับสนุนการต่อสู้ เช่น สมาชิก กลุ่ม แนวร่วม พันธมิตร เป็นต้น
แม้ว่าเป้าหมายของขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมจะเน้นเรื่องประชาธิปไตย และการมีส่วนร่วม
ทางตรงข องภ าคประชาชน แต่เราจะพบว ่าขบวนการเองย ังไม่สามารถสร้างพลังของภ าคประชาชนให้เป็นท างเลือกใน
การตรวจสอบนักการเมืองและร ะบบราชการได้ ประเด็นน ี้อาจวิเคราะห์ได้จ ากปัจจัยท างเศรษฐกิจท ี่ป ระชาธิปไตยไม่
สามารถเป็นเครื่องมือทางเศรษฐกิจให้กับประชาชนได้ ประชาชนยังไม่สามารถเชื่อมโยงระหว่างระบอบการเมืองกับ
วิถชี ีวิตท างเศรษฐกิจท ีพ่ วกเขาเผชิญอ ยูป่ ระกอบก ับป ัจจัยท างว ัฒนธรรมท ีไ่มเ่อื้ออ ำนวยต ่อก ารส ร้างพ ลังจ ากร ากห ญ้า
ประชาชน ทั่วไปย ังค งอ ยู่ภ ายใต้แ อกข องร ะบบอ ุปถัมภ์ท ี่ผ สมผ สานท ั้งศ ักดินาน ิยม ทุนนิยม และบ ริโภคน ิยมป ระกอบ
กับการเลือกต ั้งยังค งยึดติดกับระบบห ัวค ะแนน ทำให้เมื่อร ับเงินจ ากน ักการเมืองค นใดแล้วต ้องเลือกบ ุคคลน ั้น ทำให้
แม้ป ระชาธิปไตยแ บบต ัวแทนเองก ็ย ังถ ูกต ั้งค ำถามเรื่องค วามช อบธ รรม ชาวบ ้านท ั่วไปย ังห วังพ ึ่งพ ิงแ ละให้อ ำนาจเต็ม
ที่กับผู้ปกครองปราศจากการตรวจส อบ ประกอบกับร ะบบจริยธรรมที่อ่อนล้า ทำให้เกิดความฉ้อฉลในร ะบบก ารเมือง
โดยภ าคป ระชาชนไม่ส ามารถเป็นพลังตรวจส อบได้
การดำเนินการของขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมอาจสรุปได้ว่า มีปัญหาอุปสรรคหลายประการทั้ง
จากภายนอก ภายใน ปัญหาท างเทคนิค และปัญหาความขัดแย้งก ับภ าคร ัฐหลายป ระการ กล่าวค ือ
ลิขสิทธข์ิ องมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช