Page 292 - สังคมโลก
P. 292
10-52 สังคมโลก
รูปแบบการนำเอาขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของรัฐบาลนั้นมีหลากหลาย
ลักษณะ ตั้งแต่การยอมรับและสนับสนุนการทำงานของขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคม การให้เข้ามาร่วมใน
คณะผู้แทนที่เป็นทางการ คณะกรรมาธิการ และโครงสร้าง ไปจนถึงกลไกระหว่างบุคคลที่ไม่เป็นทางการที่เจ้าหน้าที่
ของรัฐบาลนำมาใช้ ดังน ั้น เมื่อใดก ็ตามที่ม ีก ารอภิปรายถกเถียงกันในเรื่องที่เกี่ยวกับน โยบายหรือโครงการ จะมีก าร
เชิญขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมเข้าไปร่วมในเวทีที่รัฐบาลเป็นฝ่ายกำหนดกฎเกณฑ์ขั้นตอนต่างๆ เอาไว้
แล้ว ด้วยก ารใช้ย ุทธศาสตรเ์ช่นน ี้เองห ลังจ ากเวลาผ ่านไปร ะยะห นึ่ง ส่วนน ำข องข บวนการเคลื่อนไหวภ าคป ระชาส ังคม
กจ็ ะห มดศ ักยภาพ เช่น ในก ารว ิพากษ์ว ิจารณ์ร ัฐบาล เป็นต้น และถ ูกด ึงเข้าไปเป็นส ่วนห นึ่งข องโครงสร้างแ ละโครงการ
ของรัฐบาล
ยุทธศาสตร์ที่ร ัฐบาลท ั่วโลกโดยเฉพาะร ัฐบาลประเทศย ากจนใช้มากท ี่สุดป ระการท ี่ส ามค ือ การตั้งก ฎเกณฑ์
ควบคุมข บวนการเคลื่อนไหวภ าคป ระชาส ังคม และเป็นท ีน่ ่าส นใจม ากว่าในช ่วงห ลังน ี้ รัฐบาลข องป ระเทศย ากจนเกือบ
ทุกป ระเทศม ักน ำเอาก ฎหมายอ อกม าใช้ค วบคุมก ารท ำงานข องข บวนการเคลื่อนไหวภ าคป ระชาส ังคม กฎเกณฑ์น ี้อ าจ
กำหนดให้มีการจดทะเบียนการขออนุญาต การควบคุมติดตามตรวจสอบโครงการและทุนดำเนินงานอย่างใกล้ชิด
โดยเฉพาะอ ย่างย ิ่งห ากทุนนี้ม าจากแ หล่งทุนต ่างประเทศ ไม่ว่าจะเป็นแ หล่งท ุนท วิภาคี พหุภาคี และแ หล่งท ุนระหว่าง
ประเทศ กฎเกณฑ์เหล่านี้อ าจจ ะเพิ่มค วามเข้มงวดม ากข ึ้นเรื่อย และมีการบ ังคับใช้อย่างจริงจัง
ยุทธศาสตร์ก ารก ำหนดก ฎเกณฑ์ค วบคุมน ี้เป็นย ุทธศาสตร์ท ี่อ ยู่ในก รอบข องก ระบวนการย ุติธรรม ส่วนม าก
กฎหมายแ ละโครงสร้างข องป ระเทศย ากจนห ลายป ระเทศต ั้งอ ยู่บนฐานท ี่เป็นป รปักษ์ก ับค นตัวเล็กๆ คนจน และค นท ี่
อ่อนแอ ดังน ั้น หน่วยง านค วบคุมแ ละก ลไกต ่างๆ ทีร่ ัฐบาลน ำม าใช้น ี้ ทำใหข้ บวนการเหล่าน ีร้ ู้สึกว ่าถ ูกค ุกคาม ไม่ม ั่นคง
และต อ้ งย ุง่ ย ากอ ยกู่ บั ก ฎเกณฑข์ ัน้ ต อนก ระบวนการแ ละร ายล ะเอยี ดต า่ งๆ อยตู่ ลอดเวลา เชน่ ขบวนการเคลือ่ นไหวภ าค
ประชาส ังคมในหลายประเทศใช้เวลาจ ำนวนม ากหมดไปก ับการกร อกแบบฟอร์ม และป ฏิบัติต ามขั้นตอนก ระบวนการ
ต่างๆ ทีก่ ำหนดข ึ้นม าด ้วยก ลไกค วบคุมต ่างๆ เหล่าน ั้น ดังน ั้น ส ่วนน ำข องข บวนการเคลื่อนไหวภ าคป ระชาส ังคมจ ึงต ้อง
มาติดขัดอ ยู่กับงานเอกสารที่ไม่จ ำเป็น บั่นทอนพลังงานค วามม ุ่งมั่น และจินตภาพในการท ำง านจริงๆ ลงไป
4. การข ่มขู่ค ุกคาม เมื่อค วามส ัมพันธ์ร ะหว่างร ัฐบาลก ับข บวนการเคลื่อนไหวภ าคป ระชาส ังคมม ีท ่าทีจ ะอ อก
ไปในท างที่เป็นป รปักษ์ รัฐบาลป ระเทศยากจนจะเอาวิธีการสร้างค วามเดือดร้อนยากล ำบาก การข ่มขู่คุกคาม (รวมท ั้ง
การใช้ค วามร ุนแรงท างก ายภาพ) การท รมาน และก ารโจมตีทำร้ายม าใช้ ไม่ว ่าส ภาพโดยท ั่วไปของรัฐจ ะเป็นเช่นไร จะ
เป็นเผด็จการที่มีพ รรคเดียวหรือร ัฐเสรีประชาธิปไตยก็ตาม
กลไกทางกฎหมายและระเบียบกฎเกณฑ์ของรัฐ ตำรวจ ทหาร หน่วยข่าวกรองของรัฐ ถูกใช้ไปสร้างความ
เดือดร ้อน คุกคามข่มขู่ หรือโจมตีขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมแ ละส มาชิกที่ทางรัฐไม่สามารถควบคุมหรือ
ขีดวงจำกัดด ้วยย ุทธศาสตร์อื่นๆ ตามที่ก ล่าวม าข ้างต้น
ขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมอาจมีแนวทางในการปรับตัวเพื่อให้สอดคล้องกับบริบททางสังคม
3 แนวทาง คือ79
1. การต รวจส อบหรือเฝ้าร ะวัง (watchdog) ขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาส ังคมค วรม ีการต รวจส อบหรือ
เฝ้าระวังและติดตาม สถานการณ์แ ละป ัญหาข องสังคมท ี่เกิดขึ้น แจ้งให้ทางร าชการแ ละประชาชนทราบถ ึงปัญหา และ
จัดให้ม ีก ารป ระชุมสัมมนาทำความเข้าใจเกี่ยวก ับป ัญหาท ี่เกิดข ึ้นและหาทางร ่วมม ือกับทุกฝ ่ายในการแก้ไขปัญหา
79 สมพร เทพสิทธา กระบวนการประชาสังคม กรุงเทพมหานคร สภาสังคมสงเคราะห์แ ห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ 2543
หน้า 11-12
ลขิ สิทธขิ์ องมหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช