Page 257 - สังคมโลก
P. 257

ขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมในสังคมโลก 10-17

       ยุทธวิธที​ ีส่​ ำคัญใ​นก​ ารเ​คลื่อนไหวข​ องข​ บวนการเ​คลื่อนไหวภ​ าคป​ ระชาส​ ังคม แบ่งอ​ อกเ​ป็นส​ องว​ ิธกี​ าร คือ การ​
ใช้ส​ ันติ​วิธี และ​การ​ใช้ค​ วาม​รุนแรง การใ​ช้​สันติว​ ิธี​มี​หลายป​ ระเภท ที่ส​ ำคัญ คือ การล​ อบ​บี้ (lobby) การแ​ สดงออก​อย่าง​
สงบ (peacefully demonstration) การเ​ดิน​ขบวน​อย่างส​ งบ (peacefully march) การค​ ว่ำ​บาตร (boycott) เป็นต้น
และก​ ารใ​ช้ค​ วามร​ ุนแรงม​ ีห​ ลาย​ประเภท เช่น การก​ ่อ​ความไ​ม่ส​ งบ (unrest) การ​ลอบ​สังหาร (assasination) เป็นต้น
องค์​ประกอบส​ ำคัญท​ ี่ข​ บวนการ​เคลื่อนไหว​ภาค​ประชาส​ ังคม​จะ​ใช้ว​ ิธี​การ​ใดห​ รือ​ยุทธวิธีใ​ด ขึ้น​อยู่​กับ

       1.	 ระดับ​ของส​ มาชิก (level of membership) ที่แ​ บ่งอ​ อก​เป็น​สาม​ส่วน คือ กลุ่มแ​ กน​นำ (the inner) ที่​เป็น​
แกนน​ ำ ผู้นำ ผู้​ก่อต​ ั้ง หรือก​ ลุ่มแ​ กน​กลางข​ อง​ขบวนการ เป็นส​ ่วน​ประกอบส​ ำคัญ​ใน​การก​ ำหนดย​ ุทธวิธี เป้าห​ มาย การ​
ดำเนิน​การ กิจกรรม แรง​จูงใจ กลุ่ม​ของ​สมาชิก​ที่​ผูกพัน (the committed) เป็นก​ลุ่ม​ที่​เป็น​สมาชิก​ขบวนการ​และ
​เข้าร​ ่วม​กิจกรรมอ​ ย่างส​ ม่ำเสมอใ​น​การดำเนินก​ ารท​ ั่วไป และก​ ลุ่มท​ ี่​มี​ความผ​ ูกพัน​น้อย​กว่า (trhe less committed)
เป็นกล​ ุ่ม​ที่อ​ ยู่​รอบ​นอก การ​เข้าร​ ่วม​กิจกรรมค​ ำนึง​ถึงค​ วามพ​ อใจ​และ​ความส​ ะดวก

       2. 	สาธารณชน (the public) กลุ่ม​บุคคล​ภายนอก​ขบวนการ​และ​ไม่มี​ส่วน​ใน​กิจกรรม​ของ​ขบวนการ แบ่ง​
ออก​เป็นส​ าม​ประเภท คือ กลุ่มค​ นท​ ี่เ​ห็นใจแ​ ละ​เห็นว​ ่าการ​ดำเนิน​การ​ของข​ บวนการม​ ีค​ วาม​ชอบธ​ รรม และ​มี​แนว​โน้มท​ ี่​
อาจ​เข้าร​ ่วม​ขบวนการใ​นอ​ นาคต ความส​ ำคัญ​ของค​ น​กลุ่ม​นี้ คือ การเ​ป็นฐ​ าน​อำนาจท​ างการเ​งิน​และ​ความช​ อบธ​ รรม จึง​
ต้องห​ ลีกเ​ลี่ยงย​ ุทธวิธที​ ีท่​ ำใหค้​ นก​ ลุ่มน​ ีเ้​สียค​ วามร​ ู้สึก แตต่​ ้องใ​ชย้​ ุทธวิธที​ ีใ่​หไ้​ดร้​ ับค​ วามเ​ห็นใจจ​ ากค​ นก​ ลุ่มน​ ี้ กลุ่มท​ ีส่​ อง
คือ กลุ่มท​ ีเ่​ป็นป​ ฏิปักษแ์​ ละต​ ่อต​ ้านข​ บวนการเ​คลื่อนไหวภ​ าคป​ ระชาส​ ังคม และม​ แี​ นวโ​น้มท​ ีด่​ ำเนินก​ ารเ​พื่อล​ ดค​ วามช​ อบ​
ธรรม​ของ​ขบวนการ​เคลื่อนไหวภ​ าคป​ ระชา​สังคม จึงค​ วรใ​ช้ย​ ุทธวิธี​ที่​หลีกเ​ลี่ยงก​ าร​เผชิญ​หน้าเ​พื่อส​ ร้างค​ วามช​ อบธ​ รรม​
ใหก​้ บั อ​ ีกฝ​ า่ ยห​ นึ่ง และเ​น้นก​ ารป​ ระนีประนอม กลุ่มท​ ีส่​ าม คอื กลุม่ ท​ ไี​่ มส่​ นใจค​ วามเ​คลือ่ นไหวข​ องข​ บวนการเ​คลื่อนไหว​
ภาค​ประชา​สังคม หรือ​กลุ่ม​คน​ที่​ทั้ง​เห็น​ด้วย​และ​ไม่​เห็น​ด้วย​กับ​การ​ดำเนิน​การ​ของ​ขบวนการ จึง​ควร​ใช้​วิธี​ที่​เป็นก​ลาง
ลด​ความแ​ ตกต​ ่างร​ ะหว่าง​สมาชิก​กับค​ น​กลุ่ม​นี้ และม​ ุ่ง​ส่งเ​สริม​ให้​คน​กลุ่ม​นี้​ให้​ความ​สนใจใ​น​ขบวนการ

       3. 	ความส​ ัมพันธก์​ ับผ​ ูม้​ อี​ ำนาจห​ รือเ​จ้าห​ น้าทีข่​ องร​ ัฐท​ ีม่​ อี​ ำนาจ (relationship to authorities) พัฒนาการข​ อง​
ขบวนการ​ทาง​สังคม​นับ​เป็น​ส่วน​สำคัญ​ใน​การ​เลือก​ยุทธวิธี ใน​กรณี​ขบวนการ​มี​พัฒนาการ​ที่​สูง​จน​กลาย​เป็น​องค์การ​
หรือส​ ถาบันท​ างส​ ังคมค​ วรเ​ลือกใ​ชย้​ ุทธวิธแี​ บบส​ ันตวิ​ ิธเี​พื่อใ​หม้​ ผี​ ลต​ ่อผ​ ูม้​ อี​ ำนาจท​ ีเ่​กี่ยวข้อง ขบวนการท​ างส​ ังคมม​ คี​ วาม
​ชอบ​ธรรม​และ​ผู้นำ​ขบวนการ​มัก​เป็น​ผู้​มี​อำนาจ​หรือ​เป็น​ฝ่าย​เดียว​กับ​ผู้​มี​อำนาจ แต่​หาก​พัฒนาการ​ของ​ขบวนการ​
มี​ต่ำ บน​พื้น​ฐาน​และ​เงื่อนไข​ทางการ​เมือง เศรษฐกิจ สังคม​ที่​ต่ำ​หรือ​มี​ความ​แตก​ต่าง​สูง และ​ขบวนการ​เคลื่อนไหว​
ภาค​ประชา​สังคม​และ​ผู้​มี​อำนาจ​เป็น​คนละ​ฝ่าย ใน​กรณี​นี้​ขบวนการ​อาจ​ใช้​วิธี​การ​รุนแรง​เพื่อ​เปลี่ยนแปลง​สังคม และ​
เป็นท​ ี่มาข​ อง​การป​ ฏิวัติ​ในท​ ี่สุด

       พัฒนาการ​ของ​ผู้นำ​นับ​เป็น​ส่วน​สำคัญ​ของ​ขบวนการ​เคลื่อนไหว​ภาค​ประชา​สังคม ลำดับ​ขั้น​ของ​พัฒนาการ
แบ่งอ​ อกเ​ป็นส​ ี่ล​ ำดับ​ขั้น ประกอบ​ด้วย30 ขั้น​แรก ขั้นก​ าร​เริ่ม​ต้น (preliminary) ผู้นำข​ บวนการม​ ักเ​ริ่ม​จาก​การเ​ป็น​นัก​
ปลุกร​ ะดม (rabble-rouser) ที่ท​ ำห​ น้าทีก่​ ระตุ้นใ​หป้​ ระชาชนค​ ำนึงถ​ ึงส​ ิทธหิ​ น้าทีแ่​ ละผ​ ลป​ ระโยชนข์​ องต​ น ขั้นต​ อนท​ ีส่​ อง
ขั้นก​ าร​เป็น​ที่​ยอมรับห​ รือ​เป็น​ที่น​ ิยม (popular) ผู้นำ​ขบวนการม​ ักเ​ป็นบ​ ุคคล​ที่​มอง​การณ์​ไกล (visionary) ที่ม​ ีหน้าท​ ี่​
ใน​การ​กำหนด​วิสัย​ทัศน์​ของ​สังคม​ใน​อนาคต โดย​อาจ​สร้าง​เป็น​พฤติกรรม​การ​รวม​เป็นก​ลุ่ม (collective behavior)
ทำให้​เป็นการ​เริ่ม​ต้น​ใน​การ​รวม​กลุ่ม​อย่าง​แนบ​แน่น ขั้น​ตอน​ที่​สาม การ​เป็น​องค์การ​ถาวร (formal organization)
ผู้นำ​ขบวนการ​มัก​เป็น​นัก​ยุทธวิธี (tactician) มี​ภาวะ​ผู้นำ​เชิง​ยุทธวิธี​หรือ​การ​ปฏิบัติ​การ ทำ​หน้าที่​ใน​การ​วางแผน​

         30 See Tim Curry Robert Jiobu and Kent Schwirian Sociology for Twenty-First Century. New Jersey: Prentice Hall,
1997 p. 430.

                              ลขิ สิทธ์ิของมหาวทิ ยาลัยสุโขทยั ธรรมาธิราช
   252   253   254   255   256   257   258   259   260   261   262