Page 247 - สังคมโลก
P. 247
ขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมในสังคมโลก 10-7
จอห์น ดี แม็คคาร์ธี่ และ เมเยอร์ เอ็น ซาลด์ (John D. McCarthy and Mayer N. Zald)2 อธิบายว่า
ขบวนการเคลือ่ นไหวภ าคป ระชาส งั คมเปน็ การก ระทำร วมห มู่ (Collective actions) ซึง่ ป ระกอบไปด ว้ ยค วามเปน็ พ ลวตั
แรงจูงใจ และโครงสร้างที่สลับซับซ้อนภายในกลุ่ม ขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมอาจจำแนกได้เป็นชุดของ
ความคิด หรือมุมมองในหมู่ประชาชนซึ่งแสดงออกถึงความเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยกับการเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง
ทางส ังคม หรือก ารกร ะจายผลป ระโยชน์บางอ ย่างท างสังคม
ชาร์ลส์ ทิลลี่ (Charles Tilly)3ให้คำจำกัดความว่า ขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมเป็นชุดของการ
แสดงออกห รอื ก ารร ณรงคเ์ชงิ ถ กเถยี งซ ึง่ ค นท ัว่ ไปไดก้ ลา่ วอ า้ งข ึน้ ร ว่ มก นั ต อ่ ผ อู้ ืน่ สำหรบั ท ลิ ล แี่ ลว้ ขบวนการเคลือ่ นไหว
ภาคป ระชาส ังคมเป็นพาหนะส ำคัญสำหรับการเข้าม าม ีส่วนร ่วมในการเมืองภาคประชาชนของคนทั่วไป
ซิดนีย์ แทร์โรว์ (Sidney Tarrow)4 ให้คำจำกัดความว่า ขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมเป็นการ
กระทำร วมห มู่ข องป ระชาชนท ั่วไปซ ึ่งม ีเป้าห มายร ่วมก ันแ ละม ีค วามเป็นอ ันห นึ่งอ ันเดียวกันในก ารท ้าทายต ่อช นชั้นน ำ
ผู้มีอ ำนาจ กลุ่มบางก ลุ่ม หรือร ะเบียบท างสังคมและว ัฒนธรรมบ างป ระการที่ม ีอ ยู่ในสังคม
ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร5 ให้ความหมายไว้ว่า ขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคม คือขบวนการปฏิรูป
สังคมที่เข้มข้นหลากหลายจากประชาชน เน้นความเป็นพลเมือง รู้จักที่จะเข้าใจตนเองและผู้อื่น มุ่งสร้างคุณธรรม
ของพลเมืองที่อดทนอดกลั้นต่อความแตกต่างหลากหลาย เคารพและยอมรับที่จะอยู่กับความแตกต่างหลากหลาย
ตลอดจนข บวนการเคลื่อนไหวภ าคป ระชาส ังคมร ูปแ บบใหม่ ยังน ำไปส ูก่ ารเปลี่ยนแปลงว ิธีค ิดข องค นในส ังคมป ัจจุบัน
ในเรื่องอื่นๆ อีกด้วย โดยเฉพาะการต ระหนักรู้ถ ึงความเสื่อมถอยของธรรมชาติและสิ่งแ วดล้อม พร้อมกับก ารด ำเนิน
การชีวิตท ี่สอดรับแ ละเป็นมิตรก ับธ รรมชาติมากข ึ้น
ผาสกุ พงษไ์ พจติ ร6 ใหค้ วามห มายวา่ ขบวนการเคลอ่ื นไหวภ าคป ระชาสงั คม หมายถ งึ ก ารรวมหมทู่ ม่ี จี ดุ มงุ่ ห มาย
หรือมีผลเปลี่ยนแปลงสังคมในทางสร้างสรรค์ ซึ่งผู้ร่วมขบวนการมีหรือไม่มีจุดมุ่งหมายที่จะเปลี่ยนแปลงสังคมก็ได้
แต่เมื่อขบวนการแ ข็งแกร่งม ากข ึ้นห รือมีค วามยั่งยืน ก็อาจเปลี่ยนระบบค ่านิยม สถาบัน และความสัมพันธ์ทางอ ำนาจ
ระหว่างกลุ่มสังคมต ่างๆ หรือร ะหว่างร ัฐกับป ระชาชนได้
อาจกล่าวได้ว่า ขบวนการเคลื่อนไหวภ าคประชาส ังคมห มายถ ึงความเคลื่อนไหวข องกลุ่มค นท ี่มีจ ุดมุ่งห มาย
เดียวกันโดยเน้นการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และการรณรงค์ในกิจกรรมทางการเมือง สังคมและสิ่งแวดล้อมเป็น
สำคัญ
ความเป็นม าข องข บวนการเคลื่อนไหวภ าคป ระชาส ังคมส ามารถส ืบค้นได้ต ั้งแต่ท ีม่ กี ารใชค้ ำน ีอ้ ย่างเป็นท ีร่ ู้จัก
กันแ พร่หลายครั้งแ รกใน ค.ศ. 1850 เมื่อน ักส ังคมวิทยาช าวเยอรมันชื่อ ลอเรนซ์ ฟอน สไตน์ (Lorenz von Stein)
เขียนเกี่ยวกับเรื่องน ี้ไว้ในห นังสือข องเขาที่ช ื่อว ่า “History of the French Social Movement from 1789 to the
Present” (1850) ซึง่ เปน็ การอ ธบิ ายก ารกร ะท ำร วมห มขู่ องป ระชาชนฝ รัง่ เศสในก ารท จี่ ะต อ่ สเู้ พือ่ เปลีย่ นแปลงโครงสรา้ ง
2 John D. McCarthy, and Mayer N, Zald, “Resource Mobilization and Social Movements: A Partial Theory.” Ameri-
can Journal of Sociology. (Volume 82 Issue 6, 1977, p.1212-1241)
3 Charles, Tilly, From Mobilization to Revolution. (Massachusetts: Addison-Wesley, 1978)
4 Tarrow, Sidney, Power in Movement: Collective Action, Social Movements and Politics (Cambridge: Cambridge
University Press, 1994
5 ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร ขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมรูปแบบใหม่ พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพมหานคร สำนักพิมพ์วิภาษา
2545
6 ผาสุก พงษ์ไพจิตร “ทฤษฎีขบวนการทางสังคมสำหรับประเทศกำลังพัฒนา” ใน ศิโรฒม์ คล้ามไพบูลย์ (บรรณาธิการ) ทฤษฎีและ
ความรู้ในย ุคโลกาภิวัตน์ กรุงเทพมหานคร บริษัทอัมร ินทร์พ ริ้นติ้งแอนด์พ ับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน) 2544, p. 81 – 231
ลิขสิทธ์ิของมหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช