Page 130 - การผลิตสัตว์
P. 130

11-2 การผลิตสัตว์

                   แผนการส​ อนป​ ระจำ​หน่วย

ชุด​วิชา 	 การผ​ ลิต​สัตว์

หนว่ ยท​ ี่ 11 	 การ​ผลิตส​ ัตว์เ​ศรษฐ​กิจ​อื่นๆ

ตอน​ท่ี

       11.1 	การ​ผลิตแ​ พะ
       11.2 	การ​ผลิตน​ ก​กระทา
       11.3 	การ​ผลิตไ​ก่พ​ ื้นเ​มือง

แนวคิด

       1. 	 แ พะ​เป็น​สัตว์​เคี้ยว​เอื้อง​ที่​มี​ขนาด​เล็ก เลี้ยง​ดู​ง่าย และ​ขยาย​พันธุ์​ได้​เร็ว หา​อาหาร​เก่ง แต่​การ​เลี้ยง​แพะ​
          ยัง​จำกัด​อยู่​เฉพาะผ​ ู้ท​ ี่​นับถือ​ศาสนา​อิสลาม ซึ่งส​ ่วนใ​หญ่​อยู่​ใน​ภาค​ใต้​ของ​ไทย เพราะ​มีว​ ัตถุประสงค์​เพื่อ​
          ใช้​ใน​พิธีกรรม​และ​ประเพณี​ทาง​ศาสนา ปัจจุบัน​มี​การ​ปรับปรุง​พันธุ์​โดย​นำ​แพะ​พันธุ์​จาก​ต่าง​ประเทศ​เข้า​
          มา​ผสม​กับ​แพะ​พื้น​เมือง เพื่อ​ปรับปรุง​ให้​ประสิทธิภาพ​การ​ผลิต​ดี​ขึ้น และ​มี​การ​ส่ง​เสริม​การ​เลี้ยง​แพะ
          โดย​การ​จัดการ​เลี้ยงด​ ู​อย่างถ​ ูกต​ ้อง เพื่อ​ช่วยใ​ห้​ได้​ผลผลิต​มากย​ ิ่ง​ขึ้น

       2. 	 นก​กระทา​เป็น​สัตว์​ปีก​ที่​เลี้ยง​เพื่อ​การ​บริโภค​ทั้ง​ไข่​และ​เนื้อ ปัจจุบัน​การ​เลี้ยง​นก​กระทา​ยัง​ไม่​แพร่​หลาย​
          เหมือน​การ​เลี้ยง​ไก่ พันธุ์​นก​กระทา​ที่​นิยม​เลี้ยง คือ นก​กระทา​ญี่ปุ่น ซึ่ง​เป็น​พันธุ์​ที่​เลี้ยง​ง่าย แข็ง​แรง
          ​ไม่ค​ ่อย​มีป​ ัญหาเ​รื่องโ​รค ให้​ไข่ด​ ก​และไ​ข่​เร็ว

       3. 	 ไก่​พื้น​เมือง​โดย​มาก​จะ​เป็น​สาย​พันธุ์​ไก่ชน ซึ่ง​มี​รูป​ร่าง​ใหญ่ แข็ง​แรง มี​การ​เจริญ​เติบโต​ดี ปัจจุบัน​มี​
          ความต​ ้องการบ​ ริโภค​เนื้อ​ไก่พ​ ื้นเ​มืองเ​พิ่ม​ขึ้น เพราะ​เนื้อมี​รสชาติอ​ ร่อย ทำให้​สามารถเ​ลี้ยง​เป็น​อาชีพ​ได้

วตั ถุประสงค์

       เมื่อ​ศึกษาห​ น่วย​ที่ 11 จบ​แล้ว นักศึกษาส​ ามารถ
       1. 	 อธิบายก​ าร​จัดการ​เลี้ยงด​ ู​แพะไ​ด้
       2. 	 อธิบายก​ าร​จัดการเ​ลี้ยงด​ ู​นก​กระทาไ​ด้
       3. 	 อธิบาย​การจ​ ัดการเ​ลี้ยงด​ ูไ​ก่​พื้น​เมืองไ​ด้

กิจกรรมร​ ะหวา่ งเ​รยี น

       1. 	 ทำแ​ บบ​ประเมิน​ผลต​ นเอง​ก่อนเ​รียนห​ น่วยท​ ี่ 11
       2. 	 ศึกษาเ​อกสาร​การ​สอนต​ อน​ที่ 11.1-11.3
       3. 	 ปฏิบัติก​ ิจกรรม​ตามท​ ี่ไ​ด้​รับ​มอบห​ มายใ​น​เอกสารก​ ารส​ อน
       4. 	 ชมร​ ายการ​วิทยุโ​ทรทัศน์ห​ รือว​ ี​ซีดีป​ ระจำช​ ุด​วิชา (ถ้าม​ ี)

                   ลขิ สิทธข์ิ องมหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช
   125   126   127   128   129   130   131   132   133   134   135