Page 145 - การผลิตสัตว์
P. 145
การผลิตสัตว์เศรษฐกิจอื่นๆ 11-17
ท่ีมา: วินัย ประล มพ์กาญจ น์ (2542) ภาพที่ 11.10 แสดงล ักษณะก ารค ลอดป กติ
3. การเลยี้ งลกู แพะแรกคลอดถ งึ หยา่ นม
หลังจากที่แม่แพะคลอดลูกแล้ว แม่แพะจะช่วยเลียเยื่อเมือกตามตัวลูกเพื่อให้ตัวลูกแห้ง สิ่งที่ควรปฏิบัติ
ต่อล ูกแพะแ รกเกิดม ีดังนี้
3.1 ดูแลให้เยื่อเมือกที่ติดตามตัวหลุดออกจากตัวลูกแพะ รวมทั้งในรูจมูกและปาก และจัดหาวัสดุที่ให้
ความอ บอุ่นแ ก่ลูกแพะ เช่น ฟางข ้าว โดยเฉพาะในช่วงท ี่ม ีอากาศหนาว
3.2 ผูกสายสะดือให้ห่างจากพื้นท้องประมาณ 1 นิ้ว และตัดสายสะดือใต้บริเวณที่ผูก ทาด้วยทิงเจอร์
ไอโอดีน
3.3 เมื่อลูกแ พะย ืนได้ค วรให้ล ูกแ พะดูดน้ำนมเหลืองจ ากแม่แ พะโดยเร็ว ซึ่งน ้ำนมเหลืองจ ะม ีภ ูมิคุ้มกันโรค
ที่ถ ่ายทอดจ ากแม่ โดยน ้ำน มเหลืองจะถูกสร้างขึ้นในช่วง 2–4 วันแรกหลังคล อด
3.4 การหย่านมสามารถกระทำได้ตลอดเวลาจนกระทั่งมีอายุ 6 เดือน ขึ้นอยู่กับชนิดของแพะ แพะเนื้อ
สามารถทิ้งลูกไว้กับแม่จนหย่านม เนื่องจากไม่ต้องการผลผลิตน้ำนม ในประเทศเขตร้อนนิยมหย่านมลูกที่อายุ
3 เดือน ส่วนแพะนมจำเป็นต้องหย่านมลูกทันทีเนื่องจากต้องการผลผลิตน้ำนมเพื่อนำไปขาย โดยจะแยกลูกจาก
แม่หลังจากคลอด และผู้เลี้ยงจะต้องรีดน้ำนมเหลืองแล้วป้อนให้ลูกกินใน 3 วันแรก หลังจากนั้นจะเลี้ยงลูกด้วย
น ้ำนมจ นกว่าจ ะห ย่านม ส่วนแม่แ พะนมจะนำไปรีดนมต ่อไป
4. การเล้ยี งแพะรนุ่ ชว่ งอายุ 3–8 เดือน
หลังจากหย่านมลูกแพะ ผู้เลี้ยงจะทำการชั่งน้ำหนักตัว วัดความสูง กรอกยาเพื่อกำจัดพยาธิภายนอกและ
ภายใน หลังจากหย่านม 2 สัปดาห์ให้ทำวัคซีนเพื่อป้องกันโรคติดต่อที่สำคัญอย่างน้อย 2 โรค คือ โรคปากและ
เท้าเปื่อย และโรคเฮโมรายิกเซฟติซีเมีย (โรคคอบวม) แพะตัวที่ไม่ถูกคัดเลือกเป็นพ่อพันธุ์ควรทำการตอนเพื่อลด
ก ลิ่นสาบและลดความดุร้าย โดยใช้มีดผ ่าเอาล ูกอัณฑะออก หรือใช้คีมตอนสัตว์ที่เรียกว่า “เบอร์ด ิซโซ่” (Burdizzo)
แพะท ี่เลี้ยงเพื่อการผ ลิตเนื้อจ ะถูกส ่งเข้าโรงฆ ่าเมื่ออ ายุ 8 เดือน ถึง 2 ปี
การจัดการทั่วไ ปอนื่ ๆ
4.1 การท ำเครือ่ งหมายป ระจำต ัว ใช้ในก ารบันทึกข้อมูลป ระจำต ัวข องแพะ นิยมทำเมื่อแพะอ ายุ 3–6 เดือน
การทำเครื่องหมายป ระจำตัวแพะ ได้แก่
ลขิ สิทธิข์ องมหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช