Page 73 - การผลิตสัตว์
P. 73
การผลิตสุกร 9-23
กจิ กรรม 9.2.1
รูปแบบการเล้ยี งสุกรสามารถแบง่ ออกเปน็ ก่รี ปู แบบ อะไรบา้ ง
แนวตอบกิจกรรม 9.2.1
ปัจจุบนั รูปแบบการเลี้ยงสุกรสามารถแบ่งออกเป็น 3 รปู แบบ คอื
1. การเลย้ี งพอ่ แมพ่ นั ธเุ์ พอ่ื ผลติ ลกู สกุ รจ�ำ หนา่ ย ซง่ึ ลกู สกุ รทผี่ ลติ ไดจ้ ะมวี ตั ถปุ ระสงค์ คอื ผลติ ลกู สกุ ร
เพื่อเลย้ี งเป็นพอ่ แมพ่ ันธทุ์ ดแทน และผลติ ลกู สุกรเพ่ือเลยี้ งเปน็ สุกรขนุ
2. การเล้ียงสุกรขุน เป็นการเลี้ยงลูกสุกรที่ซ้ือมาจากฟาร์มภายนอก ต้ังแต่ระยะอนุบาล (นํ้าหนักตัว
ประมาณ 20 กโิ ลกรัม) จนถึงนาํ้ หนกั สง่ ตลาด (น้าํ หนกั ตัวประมาณ 100 กโิ ลกรมั )
3. การเล้ียงสุกรแบบครบวงจร เป็นการเล้ียงสุกรท่ีมีท้ังพ่อแม่พันธ์ุและสุกรขุน อยู่ภายในฟาร์ม
นอกจากนยี้ ังมีการจำ�หนา่ ยสุกรพอ่ แม่พันธ์ุ และสุกรขุนให้แก่ฟาร์มอื่นด้วย
เรอื่ งท่ี 9.2.2
การเลยี้ งสุกรพ่อพนั ธุ์
พ่อพันธุ์สุกรจะแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ พ่อพันธุ์สุกรที่ใช้ในการผสมพันธุ์ และพ่อพันธุ์สุกรทดแทน
1. พ่อพันธุ์สุกรที่ใช้ในการผสมพันธุ์ หมายถึง สุกรเพศผู้ที่ได้รับการคัดเลือกจากลักษณะทางพันธุกรรม
และลักษณะที่แสดงออกภายนอกที่ดี เช่น การเจริญเติบโตดี มีขาแข็งแรง ร่างกายมีกล้ามเนื้อชัดเจน เป็นต้น เพื่อใช้
เปน็ พอ่ พนั ธุใ์ นการผลติ ลกู สกุ รทีม่ คี ณุ ภาพ พอ่ พนั ธุส์ กุ รจงึ เปน็ ปจั จยั ทีส่ �ำ คญั ปจั จยั หนึง่ ในการทีจ่ ะท�ำ ใหก้ ารเลีย้ งสกุ ร
ประสบความสำ�เร็จ ในปัจจุบันมีการตั้งศูนย์ทดสอบสุกรพันธุ์ที่ได้มาตรฐานโดยหน่วยงานราชการและเอกชน ซึ่งพ่อ
สุกรที่ผ่านการทดสอบจะมีลักษณะที่ดี สามารถนำ�ไปเลี้ยงเป็นพ่อแม่พันธุ์ได้
2. พ่อพันธ์ุสุกรทดแทน หมายถึง สุกรหนุ่มที่มีลักษณะดี ถูกต้องตามลักษณะการคัดเลือกพันธุ์ มีความ
แข็งแรง ซึ่งจะเป็นพ่อพันธุ์ต่อไปในอนาคตในแต่ละปี เนื่องจากในแต่ละปีผู้เลี้ยงจำ�เป็นจะต้องมีการคัดพ่อสุกรเก่าที่มี
ปัญหาออกจากฟาร์ม จึงต้องมีการคัดพ่อสุกรใหม่เข้ามาทดแทน โดยจะต้องมีการวางแผนทดแทนไว้ล่วงหน้าไม่น้อย
กว่า 6 สัปดาห์ เพื่อให้ไม่เกิดปัญหาขาดแคลนการทดแทนพ่อพันธุ์ไม่ทัน โดยทั่วไปพ่อสุกรใหม่จะได้มาจาก 2 แหล่ง
คือ ผลิตขึ้นเองในฟาร์ม และนำ�เข้าจากฟาร์มอื่น
การจัดการดูแลพ่อสุกรทดแทน มีสิ่งควรปฏิบัติ ดังนี้
1. การจัดการด้านการสุขาภิบาลและการจดั การทัว่ ไป
1.1 การกกั โรคพอ่ สกุ รทดแทน เป็นการเตรียมพ่อสุกรทดแทนก่อนที่จะน�ำ เข้าไปในฝูงพ่อพันธุ์ในฟาร์ม เพื่อ
ป้องกันไม่ให้นำ�โรคใหม่เข้าสู่ฝูงพ่อพันธุ์ โดยทั่วไปเรียกว่า “การกักโรค” ซึ่งมีวิธีการปฏิบัติ ดังนี้
ลิขสทิ ธขิ์ องมหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช