Page 77 - การผลิตสัตว์
P. 77

การผลิตสุกร 9-27
จะต้องทำ�การตรวจด้วยกล้องจุลทรรศน์ จึงจะตรวจพบได้ ความผิดปกติที่เกิดขึ้นของตัวอสุจินั้นบางลักษณะสามารถ
แก้ไขได้ เช่น ตัวอสุจิมีหยดนํ้าที่หาง หรือบางครั้งอาจมีความเข้มข้นของตัวอสุจิน้อย เกิดจากพ่อสุกรมีอายุน้อยยังไม่
สมบูรณ์พันธุ์เต็มที่ หรือถ้าเกิดกับพ่อพันธุ์ที่ใช้งานปกติ อาจเป็นเพราะมีการรีดนํ้าเชื้อบ่อยครั้งเกินไป การแก้ไขโดย
หยดุ การรดี นํา้ เชือ้ จนกวา่ ความผดิ ปกตจิ ะหมดไป แตล่ กั ษณะผดิ ปกตบิ างอยา่ ง เชน่ ตวั อสจุ มิ ลี กั ษณะหวั ผดิ ปกติ อาจ
ไม่สามารถแก้ไขได้ ซึ่งจำ�เป็นต้องคัดพ่อพันธุ์ตัวนั้นทิ้งไป โดยปกติควรมีการตรวจคุณภาพนํ้าเชื้ออย่างน้อยเดือนละ
ครั้ง

                       ภาพท่ี 9.19 แสดงตัวอสุจปิ กติ (1) และตัวอสุจผิ ิดปกติสว่ นหาง (2)

                            ภาพท่ี 9.20 แสดงตัวอสุจิผิดปกตมิ ีหยดนํ้าทสี่ ว่ นหาง
       2.3 	การใชง้ านพอ่ สกุ รในการผสมพนั ธ์ุ ความถี่ในการใช้งานพ่อสุกรในการผสมพันธุ์หรือการรีดนํ้าเชื้อ จะมี
ผลต่อคุณภาพของนํ้าเชื้อ และจะส่งผลต่อเนื่องไปยังอัตราการผสมติดและจำ�นวนลูกต่อครอกได้ การใช้งานพ่อสุกร
ให้มีประสิทธิภาพนั้น จะต้องไม่ใช้งานมากเกินไป แต่จะต้องมีการใช้งานพ่อสุกรอย่างสมํ่าเสมอ เพราะถ้ามีการพักการ
ใช้งานพ่อสุกรเป็นระยะเวลานานเกินไป นํ้าเชื้อที่ได้จะมีตัวอสุจิที่ตายเป็นจำ�นวนมาก ซึ่งทำ�ให้อัตราการผสมติดตํ่า
ระยะเวลาที่เหมาะสมในการใช้งานพ่อสุกร คือ

                              ลิขสิทธข์ิ องมหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธิราช
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82