Page 215 - การจัดการผลิตไม้ดอกไม้ประดับเชิงธุรกิจ
P. 215

การจัดการการผลิตไม้ดอกกระถาง 13-37
       2.5 โรคที่ส�ำ คญั ของพิทเู นีย ได้แก่

            2.5.1 	โรคเห่ียว โรคนี้เกิดจากเชื้อรา Fusarium orysporum ต้นที่เป็นโรคจะมีใบสีเหลือง มักเกิดขึ้น
กับใบที่อยู่ตอนล่างๆ และทำ�ให้ต้นตายลงไปในไม่กี่วัน การป้องกันกำ�จัด ทำ�โดยการทำ�ลายต้นที่แสดงอาการที่เป็น
โรคทันที ควรใช้ดินปลูกที่มีการระบายนํ้าดี

            2.5.2 	โรคโคนเน่า เกิดจากเชื้อราในดิน (Rhizoconia solani) เชื้อจะเข้าทำ�ลายบริเวณโคนต้น แล้ว
แสดงอาการที่ใบ โดยใบจะเหลือง ลักษณะอาการจะคล้ายกับโรคเหี่ยว อาการที่ต้นจะพบรอยแผลสีนํ้าตาลอยู่ตํ่ากว่า
ระดับผิวดินเล็กน้อย เชื้อนี้จะทำ�ให้ต้นตายในที่สุด การป้องกันก็เช่นเดียวกับโรคเหี่ยวคือควรใช้ดินปลูกที่มีการระ
บายนํ้าดี

  กิจกรรม 13.3.1
         1. 	 เพราะเหตใุ ดพิทูเนยี จึงไดร้ ับความนยิ มเพ่มิ ขนึ้ ในประเทศไทย
         2. 	 วสั ดปุ ลกู ทใ่ี ชป้ ลกู พทิ เู นียควรมลี ักษณะอย่างไร

  แนวตอบกจิ กรรม 13.3.1
         1. 	 เนอ่ื งจากพทิ เู นยี เปน็ ไมด้ อกทมี่ สี สี นั สวยงาม และมสี ายพนั ธทุ์ หี่ ลากหลาย ออกดอกดกชว่ งเวลาใน

  การออกดอกยาวนานกวา่ ไมด้ อกลม้ ลุกท่ัวไป
         2. 	 วัสดุปลูกพิทูเนียควรเป็นดินผสมที่มีความร่วนซุย ถ่ายเทอากาศได้ดี ระบายน้ําได้ดี เก็บความชื้น

  ไดพ้ อสมควร

                              ลขิ สทิ ธขิ์ องมหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธิราช
   210   211   212   213   214   215   216   217   218   219   220