Page 261 - ความรู้ทั่วไปเกี่ียวกับบรรจุภัณฑ์
P. 261

การพัฒนาและการออกแบบบรรจุภัณฑ์ 10-39

3. 	การค​ วบคุมค​ ุณภาพข​ องว​ ัสดแุ​ ละบ​ รรจุ​ภณั ฑ์

       การค​ วบคุมค​ ุณภาพเ​ป็นการต​ รวจส​ อบส​ มบัติข​ องว​ ัสดุแ​ ละบ​ รรจุภ​ ัณฑ์เ​พื่อใ​ห้ม​ ั่นใจว​ ่าม​ ีส​ มบัติต​ ามข​ ้อก​ ำหนด
ทั้งนี้​จำเป็น​ต้อง​อาศัย​วิธี​การ​ทดสอบ​มาตรฐาน ซึ่ง​ผู้​ผลิต​สินค้า​และ​ผู้​ผลิต​บรรจุ​ภัณฑ์​ตกลง​กัน​ไว้​ก่อน​จะ​มี​การ​สั่ง​ซื้อ​
บรรจุ​ภัณฑ์ เพื่อ​ให้​ผล​ทดสอบส​ ามารถเ​ปรียบ​เทียบ​ได้ และ​ใช้​ควบคุม​คุณภาพโ​ดย​แผนก​ควบคุม​คุณ​ภาพข​ อง​ทั้ง 2 ฝ่าย

       บริษัท​ผู้​ผลิต​สินค้า​อุปโภค​และ​บริโภค​ราย​ใหญ่​มัก​จะ​มี​มาตรฐาน​ทดสอบ​ของ​ตนเอง ​ซึ่ง​ส่วน​ใหญ่​ดัดแปลง​
หรือ​นำ​มาจ​ าก​มาตรฐาน​สากล เช่น ISO (International Organization for Standardization) ASTM (American
Society for Testing and Materials) และ BS (British Standards) เป็นต้น ใน​กรณี​ที่​บริษัท​ผู้​ผลิต​สินค้า​
ในประเทศไทยไม่มมี​ าตรฐานท​ ดสอบข​ องต​ นเอง ควรใ​ช้ม​ าตรฐานส​ ากลห​ รือม​ าตรฐานท​ ี่จ​ ัดท​ ำโ​ดยส​ ำนักงานม​ าตรฐาน​
ผลิตภัณฑ์​อุตสาหกรรม (สมอ.)

       เนื่องจาก​การ​ผลิต​บรรจุ​ภัณฑ์​ทุก​ชนิด​ใน​ปริมาณ​มาก​และ​ใน​เชิง​การ​ค้า สมบัติ​ของ​วัสดุ​และ​บรรจุ​ภัณฑ์​อาจ​
มี​การ​คลาด​เคลื่อน​และ​มี​ข้อ​บกพร่อง​เกิด​ขึ้น​ไม่​มาก​ก็​น้อย ดัง​นั้น ผู้​ผลิต​สินค้า​และ​ผู้​ผลิต​บรรจุ​ภัณฑ์​จึง​จำเป็น​ต้อง​มี​
การต​ กลงใ​นเ​รื่องข​ องข​ ้อบ​ กพร่อง (defect) และเ​กณฑ์ใ​นก​ ารย​ อมรับไ​วล้​ ่วงห​ น้าก​ ่อนท​ ำการผ​ ลิตบ​ รรจุภ​ ัณฑใ์​นป​ ริมาณ​
มาก

       ข้อ​บกพร่องส​ ามารถ​จำแนกเ​ป็น 3 ระดับ ดังนี้
       1) 	ระดับว​ ิกฤต (critical defect) หมายถ​ ึง ข้อบ​ กพร่องท​ ีจ่​ ะก​ ่อค​ วามเ​สียห​ ายใ​หก้​ ับผ​ ลิตภัณฑห์​ รือก​ ารใ​ชง้​ าน
เช่น บรรจุภ​ ัณฑ์​ไม่ส​ ามารถ​ปกป้องค​ ุ้มครองส​ ินค้า​ได้ ผิด​กฎหมายห​ รือ​ขัดต​ ่อ​กฎร​ ะเบียบ ก่ออ​ ันตราย​แก่ผ​ ู้​ใช้
       2) 	ระดับ​รุนแรง (major defect) หมายถ​ ึง ข้อ​บกพร่องท​ ี่ไ​ม่​ก่อค​ วามเ​สียห​ าย​ให้​กับ​ผลิตภัณฑ์ แต่ม​ ี​ผลใ​ห้​
ประสิทธิภาพ​การ​ผลิตล​ ดล​ ง เช่น บรรจุภ​ ัณฑ์เ​ปิดไ​ด้​บ้าง ​ไม่​ได้​บ้าง
       3) 	ระดับเ​ล็กน​ ้อย (minor defect) หมายถ​ ึง ข้อบ​ กพร่องท​ ี่ไ​ม่ก​ ่อค​ วามเ​สียห​ ายใ​ห้ก​ ับผ​ ลิตภัณฑ์ และไ​ม่ท​ ำให​้
ประสทิ ธิภาพก​ ารผ​ ลิตล​ ดล​ ง แตม​่ กั ม​ ล​ี ักษณะภ​ ายนอกท​ ีต่​ า่ งไ​ปจ​ ากข​ อ้ ก​ ำหนด ซึง่ อ​ าจท​ ำใหผ้​ ูบ​้ ริโภคไ​มย่​ อมรบั เชน่ ขวด​
บุบ​เล็ก​น้อย กล่องล​ ูกฟูกม​ ี​ขุย​เล็กน​ ้อย ถุงพ​ ลาสติก​มีร​ อยซ​ ีล​ย่นเ​ล็ก​น้อย
       การ​ตรวจ​สอบ​คุณภาพ​ของ​วัสดุ​และ​บรรจุ​ภัณฑ์ จะ​ต้อง​อาศัย​การ​สุ่ม​ตัวอย่าง (sampling) โดย​ทาง​หลัก​
สถิติ และจ​ ะ​ต้องม​ ี​การ​กำหนด​เกณฑ์​คุณภาพ​ที่ย​ อมรับไ​ด้ (acceptable quality level: AQL) ของ​แต่ละร​ ะดับ​ของ​
ข้อ​บกพร่อง AQL หมาย​ถึง ปริมาณ​สูงสุด​ของ​ข้อ​บกพร่อง​ที่​ยอม​ให้​ได้​มี​ได้​ใน​แต่ละ​รุ่น​ของ​การ​ผลิต​บรรจุ​ภัณฑ์​นั้น
มีห​ น่วยเ​ป็นร​ ้อย​ละห​ รือ​เปอร์เซ็นต์ ข้อบ​ กพร่อง​ใน​แต่ละร​ ะดับ​จะ​มี AQL ต่างก​ ัน กล่าวค​ ือ ข้อ​บกพร่อง​ระดับ​วิกฤต​จะ​
มี​ค่า AQL น้อยก​ ว่าข​ ้อบ​ กพร่อง​ระดับร​ ุนแรง และข​ ้อ​บกพร่อง​ระดับ​เล็ก​น้อย​ตามล​ ำดับ
       ใน​การ​กำหนด​ว่า​ข้อ​บกพร่องอ​ ะไรอ​ ยู่ใ​น​ระดับใ​ด ขึ้น​กับ​หลายอ​ งค์​ประกอบ เช่น

            - 	 ตำแหน่ง​การ​ตลาด​ของ​สินค้า (product positioning) สินค้า​ที่​อยู่​ใน​ระดับ​สูง​หรือที่​ขาย​ใน​ราคา​สูง
ข้อบ​ กพร่อง​จะเ​ข้มง​ วด​กว่า​สินค้า​ที่ข​ าย​ใน​ระดับ​ต่ำ​ลงม​ า

            - 	 ประเภท​ของ​ผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์​อาหาร​และ​ยา จะ​กำหนด​ข้อ​บกพร่อง​ด้าน​ความ​ปลอดภัย และ​
คุ้มครอง​สินค้าเ​ข้ม​งวดก​ ว่า​ผลิตภัณฑ์ป​ ระเภท​อื่น

            - 	 ราคาข​ องบ​ รรจภ​ุ ณั ฑท​์ ต​่ี กลงซ​ อื้ ข​ าย การค​ วบคมุ ค​ ณุ ภาพท​ เี​่ ขม้ ง​ วดเ​ปน็ พ​ เิ ศษ โดยม​ เ​ี กณฑก​์ ารย​ อมรบั ​
ข้อ​บกพร่อง​ที่​ต่ำ​มาก ๆ ย่อม​ทำให้​ต้นทุน​การ​ผลิต​บรรจุ​ภัณฑ์​สูง​ตาม​ไป​ด้วย ราคา​ของ​บรรจุ​ภัณฑ์​ที่​ซื้อ​ก็​จะ​สูง​กว่า
​บรรจุภ​ ัณฑ์ป​ ระเภท​เดียวกันท​ ี่​ยอมใ​ห้​เกณฑ์ก​ าร​ยอมรับ​ของ​ข้อ​บกพร่องเ​ดียวกัน​สูง​ขึ้น

       การต​ รวจส​ อบค​ ณุ ภาพโ​ครงสรา้ งบ​ รรจภุ​ ณั ฑน​์ ิยมแ​ ผนการส​ ุ่มต​ ัวอยา่ งแ​ บบเ​ชงิ เดี่ยว (single sampling plan)
ดังต​ ัวอย่างใ​นต​ ารางท​ ี่ 10.7 ตัวอย่างข​ องข​ ้อบ​ กพร่องใ​น 3 ระดับ และเ​กณฑใ์​นก​ ารย​ อมรับข​ องบ​ รรจภุ​ ัณฑส์​ ำหรับส​ ินค้า​
ประเภท​อาหาร​และส​ ินค้าอ​ ุปโภคจะกล่าวกันต่อไปใน​ตอน​ที่ 10.4

                              ลขิ สิทธิ์ของมหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธิราช
   256   257   258   259   260   261   262   263   264   265   266