Page 256 - ความรู้ทั่วไปเกี่ียวกับบรรจุภัณฑ์
P. 256

10-34 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์

       การ​ทดลอง​ด้าน​นี้​เป็น​ความร​ ับ​ผิด​ชอบ​ร่วม​กัน​ระหว่างฝ​ ่าย​โรงงานผ​ ลิต​และ​ฝ่าย​พัฒนาอ​ อกแบบ​บรรจุ​ภัณฑ์
ผล​การ​ทดลองจ​ ะ​มีก​ าร​ให้ค​ วาม​เห็นแ​ ละ​ข้อเ​สนอ​แนะ​โดย​ทั้งสองฝ่าย ซึ่ง​ต้อง​เห็น​ชอบร​ ่วม​กัน

       2.4		การ​ทดสอบ​สมบัติ​ของ​ต้นแบบ​บรรจุ​ภัณฑ์ งาน​ด้าน​นี้​เป็น​ความ​รับ​ผิด​ชอบ​ของ​ผู้​พัฒนา​และ​ออกแบบ​
บรรจุ​ภัณฑ์ โดย​นำต​ ้นแบบบ​ รรจุ​ภัณฑ์ท​ ี่ท​ ำ​มาจ​ าก​วัสดุ​บรรจุ​ภัณฑ์ท​ ี่​ต้องการม​ าท​ ดสอบต​ ามส​ มบัติ​ที่​กำหนด​โดย​ใช้ว​ ิธ​ี
การท​ ดสอบ​ตามม​ าตร​ ฐาน บางบ​ ริษัท​มี​มาตรฐาน​ทดสอบ​ของ​ตนเอง บาง​บริษัท​ใช้ม​ าตรฐาน​สากล เช่น ISO, ASTM,
TAPPI หรือ มาตรฐานข​ องร​ ัฐ อาทิ มาตรฐาน​ผลิตภัณฑ์​อุตสาหกรรม (มอก.) ของประเทศไทยซึ่งเ​ป็น​ข้อ​กำหนด​ทาง​
วชิ าการท​ ีส​่ ำนักงานม​ าตรฐานผ​ ลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม (สมอ.) ไดก​้ ำหนดข​ ึน้ เ​พือ่ เ​ปน็ แ​ นวทางแ​ กผ่​ ูผ​้ ลิตใ​นก​ ารผ​ ลิตส​ นิ ค้า​
ให้​มี​คุณภาพ​ในร​ ะดับท​ ี่​เหมาะ​สมก​ ับ​การใ​ช้ง​ าน​มากท​ ี่สุด

       ตัวอย่างเ​ช่น สำหรับบ​ รรจภุ​ ัณฑ์ข​ ายป​ ลีก สมบัตทิ​ ี่ท​ ดสอบข​ ึ้นก​ ับข​ ้อก​ ำหนดท​ ี่ต​ ้องการเ​ท่านั้น ไม่มคี​ วามจ​ ำเป็น​
ต้องท​ ดสอบ​ทุก ๆ สมบัติ​ของว​ ัสดุ​นั้น เช่น ผลิตภัณฑ์​เป็นอ​ าหาร​แห้ง มี​ไข​มันต​ ่ำ ต้องการ​บรรจุใ​น​ถุง​พลาสติก สมบัติ​
ของฟ​ ิล์มพ​ ลาสติก​ที่ใ​ช้ใ​นด​ ้าน​ความ​คุ้มครอง คือ ค่า​อัตราก​ าร​ซึม​ผ่าน​ไอ​น้ำเ​ท่านั้น ไม่​ต้อง​กำหนด​และท​ ดสอบค​ ่า​อัตรา​
การซ​ ึมผ​ ่าน​ก๊าซ​ออกซิเจน เพราะ​อาหารม​ ีไ​ข​มัน​ต่ำ ไม่​เกิด​ปฏิกิริยา​กับ​ออกซิเจน เป็นต้น

       กล่อง​กระดาษ​แข็ง​บรรจุ​สบู่​ด้วย​เครื่อง​อัตโนมัติ​ความเร็ว​สูง นอกจาก​จะ​ต้อง​ทดสอบ​ค่า​ความ​หนา น้ำ​หนัก​
มาตรฐานข​ องก​ ระดาษแ​ ข็งใ​หเ้​ป็นไ​ปต​ ามข​ ้อก​ ำหนดแ​ ล้ว ยังต​ ้องท​ ดสอบค​ ่าค​ วามแ​ ข็งต​ ึงดว้ ย เพราะเ​ป็นส​ มบัตทิ​ สี่​ ัมพันธ​์
กับก​ ารข​ ึ้นร​ ูป​กล่องด​ ้วยเ​ครื่องอ​ ัตโนมัติ

3. 	การป​ ระเมินใ​นด​ า้ นร​ าคา​และค​ วาม​สามารถใ​นก​ ารผ​ ลติ ข​ อง​ผู​ผ้ ลิต​บรรจ​ภุ ณั ฑ์

       ตามท​ ี่ไ​ด้​กล่าวแ​ ล้ว แผนก​จัด​ซื้อ​และ​แผนกพ​ ัฒนา​บรรจุภ​ ัณฑ์​ต้องมี​ความร​ ับ​ผิด​ชอบ​ร่วม​กัน​ใน​การ​คัด​เลือก​
ผูผ้​ ลิตบ​ รรจภุ​ ัณฑเ์​พื่อใ​หม้​ ั่นใจว​ ่าม​ คี​ วามส​ ามารถท​ างเ​ทคนิค และก​ ารจ​ ัดส​ ่งบ​ รรจภุ​ ัณฑใ์​หแ้​ กโ่​รงงานผ​ ลิตส​ ินค้าอ​ ุปโภค​
และ​บริโภค​ตาม​แผนง​ าน​ได้

       สำหรับ​ราคา​ของ​บรรจุ​ภัณฑ์ แผนก​จัด​ซื้อ​จะ​รับ​ผิด​ชอบ​โดยตรง และ​ต้อง​มี​การ​เปรียบ​เทียบ​ระหว่าง​ผู้​ผลิต​
บรรจุภ​ ัณฑ์​หลาย ๆ ราย ภาย​ใต้ข​ ้อก​ ำหนด​ของบ​ รรจุภ​ ัณฑ์เ​ดียวกัน จากน​ ั้นจ​ ึงน​ ำ​เสนอและสรุปใ​ห้แ​ ก่ผ​ ู้​เกี่ยวข้องเพื่อ​
ตัดสินใ​จ ​โดย​ทั่วไปข​ ้อมูลห​ ลัก​ที่​นำ​เสนอประกอบ​ด้วย

       – 	 ข้อก​ ำหนด​ของต​ ้นแบบข​ อง​บรรจุภ​ ัณฑ์​ที่​ได้​รับจ​ ากแ​ ผนกพ​ ัฒนา​บรรจุ​ภัณฑ์
       – 	 ปริมาณค​ วาม​ต้องการ​ของบ​ รรจุภ​ ัณฑ์ต​ ่อ​ปีท​ ี่​ได้​รับจ​ าก​แผนก​การต​ ลาด
       –	 ราย​ชื่อ​ผู้ผ​ ลิต​บรรจุ​ภัณฑ์ท​ ี่ส​ ามารถ​ผลิตแ​ ละจ​ ัด​ส่ง​บรรจุภ​ ัณฑ์​นี้​ได้​ภายใน​เวลาท​ ี่​กำหนด
       – 	 ราคาข​ องบ​ รรจุ​ภัณฑ์ท​ ี่ไ​ด้ร​ ับ​จากผ​ ู้ผ​ ลิตบ​ รรจุ​ภัณฑ์​แต่ละร​ าย
       – 	 ข้อมูล​ประกอบ​ของ​ผู้​ผลิต​บรรจุ​ภัณฑ์​แต่ละ​ราย เช่น ระบบ​คุณภาพ ความ​สามารถ​ทาง​เทคนิค​และ​การ​
พัฒนา​ ฐานะ​การ​เงิน กำลังก​ ารผ​ ลิต ​และ​แผนง​ านการข​ ยายง​ าน เป็นต้น
       ผู้​เกี่ยวข้อง​จะ​ร่วม​กัน​ประเมิน​ข้อมูล​เหล่า​นี้ และ​สรุป​ผล​ให้​แก่​ผู้​มี​อำนาจ​ตัดสิน​ใจ​ซึ่ง​มัก​เป็น​ผู้​อำนวย​การ
​โรงงาน หรือ​ผู้​อำนวย​การ​ซัพพลาย​เชน​ของ​บริษัท​นั้น การ​ประเมิน​เกี่ยว​กับการ​เลือก​ผู้​ผลิตบรรจุ​ภัณฑ์ ควร​ทำ​ก่อน​
การ​จัดท​ ำ​ต้นแบบ 3 มิติข​ องบรรจุภ​ ัณฑ์ เนื่องจากต​ ้องม​ ี​การ​ใช้​ตัวอย่าง​บรรจุภ​ ัณฑ์​ต้นแบบจ​ ำนวน​มากใ​น​การ​ทดสอบ​
ต่าง ๆ ซึ่ง​ผู้​ผลิต​บรรจุ​ภัณฑ์​ต้อง​มี​การ​เสีย​ค่า​ใช้​จ่าย​ใน​ด้าน​การ​ผลิต เพื่อ​เตรียม​ตัวอย่าง​ให้ ยิ่ง​ถ้า​เป็น​บรรจุ​ภัณฑ์​
พลาสติกค​ งร​ ูป จ​ ะต​ ้องม​ ีก​ ารท​ ำแ​ บบหล่อพ​ ลาสติกด​ ้วย ซึ่งเ​ป็นค​ ่าใ​ช้จ​ ่ายท​ ี่ผ​ ู้ผ​ ลิตส​ ินค้าอ​ ุปโภคบ​ ริโภคต​ ้องจ​ ่ายก​ ่อนก​ าร​
ทำ​แบบหล่อนั้น ๆ

                             ลิขสิทธ์ขิ องมหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช
   251   252   253   254   255   256   257   258   259   260   261