Page 255 - ความรู้ทั่วไปเกี่ียวกับบรรจุภัณฑ์
P. 255
การพัฒนาและการออกแบบบรรจุภัณฑ์ 10-33
2) โมลด์ที่ใกล้เคียงกับการผลิตจริงและใช้ปริมาณมาก เป็นต้นแบบของบรรจุภัณฑ์พลาสติก
คงรูปที่ผลิตมาจากการทำแม่แบบจริง โดยเป็นโมลด์ขนาดเล็กที่ผลิตได้ทีละชิ้น เรียกว่า “ผลิตเพียง 1 cavity”
โมลด์นี้เรียกว่า “โมลด์ไพลอต (pilot mould หรือ mold)” การทำต้นแบบประเภทนี้จะทำหลังจากได้เลือกแบบ
ของต้นแบบที่ทำมาจากโมลด์แบบง่ายแล้ว และต้องการต้นแบบบรรจุภัณฑ์ในปริมาณมากเพื่อทำการวิเคราะห์
ความเหมาะสม ผู้ผลิตบรรจุภัณฑ์จะเป็นผู้ทำต้นแบบประเภทนี้ให้ลูกค้า โดยลูกค้าต้องจ่ายค่าแม่แบบ วัสดุที่ใช้ทำ
ต้นแบบจะเป็นวัสดุที่ต้องการใช้จริง เช่น การออกแบบขวดสำหรับครีมอาบน้ำ มีการเลือกต้นแบบมาแล้ว 1 แบบ
แต่ต้องการใช้พลาสติก 2 ชนิด คือ แบบทึบที่ใช้ HDPE ใส่สีขาว และแบบใสที่ใช้ PET ไม่ใส่สี โมลด์ขวดที่ทำ
ต้องทำเป็นทั้งโมลด์ขวด HDPE และโมลด์ขวด PET แยกจากกัน เพราะพลาสติกทั้ง 2 ชนิดไม่สามารถใช้โมลด์
ร่วมกันได้ เนื่องจากก ระบวนการผลิตต ่างก ันและก ารหดต ัวต ่างก ัน
2. การประเมินแ ละเลอื กตน้ แบบข องโครงสรา้ งบ รรจุภัณฑ์
การประเมินและเลือกต ้นแบบโครงสร้างบ รรจุภัณฑ์ จำเป็นต ้องมีก ารศ ึกษาแ ละก ารท ดสอบในส ิ่งต่อไปนี้
2.1 การศึกษาอายุการเก็บของผลิตภัณฑ์ท่ีบรรจุอยู่ในบรรจุภัณฑ์ต้นแบบและความเข้ากันได้ระหว่าง
ผลติ ภณั ฑก์ บั บ รรจภุ ณั ฑ์ (product-package compatibility) งานด ้านน ี้จ ะอ ยู่ในค วามร ับผ ิดช อบข องห น่วยง านพ ัฒนา
ผลิตภัณฑ์ โดยมีม าตรฐานวิธีการแ ตกต ่างก ันไปตามแต่ละบริษัท วัตถุประสงค์ข องก ารท ดสอบนี้ คือ เพื่อให้มั่นใจว่า
บรรจภุ ัณฑแ์ ละว ัสดทุ ีเ่ลือกใชส้ ามารถค ุ้มครองผ ลิตภัณฑต์ ลอดจ นอ ายกุ ารเก็บท ีต่ ้องการ กล่าวค ือ เพื่อเป็นการย ืนยัน
ว่าข ้อก ำหนดด ้านความค ุ้มครองข องบ รรจุภัณฑ์ท ี่กำหนดไว้ม ีความเหมาะส ม
2.2 การท ดสอบก ารย อมรบั ข องก ลมุ่ ผ บู้ รโิ ภคเปา้ ห มาย งานด ้านน จี้ ะอ ยูใ่ นค วามร ับผ ดิ ช อบข องฝ ่ายก ารต ลาด
ซึ่งจะม ีว ิธีการท ดสอบกับกลุ่มผ ู้บ ริโภคเป้าหมาย (consumer test) อย่างช ัดเจน การป ระเมินต้นแบบบ รรจุภัณฑ์บาง
ชนิดที่ใช้ทดสอบควรจะมีกราฟิกที่ได้เลือกแล้วปรากฏอยู่ด้วย เพราะโครงสร้างและกราฟิกของบรรจุภัณฑ์เป็นสิ่งที่
แยกจากกันไม่ได้ในด้านการยอมรับของผ ู้บ ริโภค
ในก รณขี องก ารอ อกส นิ คา้ ใหม่ ทใี่ หมท่ ัง้ ผ ลติ ภณั ฑแ์ ละบ รรจภุ ณั ฑ์ พรอ้ มท ัง้ ม งี บป ระมาณม ากพ อ การท ดสอบ
ด้านนี้ จะมีการให้ตัวอย่างสินค้าที่ใช้บรรจุภัณฑ์ต้นแบบแก่กลุ่มลูกค้าเป้าหมายไปใช้ และมีการติดตามผลหลังจาก
การใช้ในช่วงเวลาที่แน่นอน แบบสอบถามที่ได้รับจะมีข้อมูลต่าง ๆ ที่สามารถนำมาประเมินความพึงพอใจของกลุ่ม
ผ ู้บริโภคเป้าหมายได้ รวมท ั้งก ารปรับปรุงแก้ไขในส่วนท ี่ผู้บริโภคไม่ชอบ
การท ดสอบนี้จะนำไปประเมินค วามพึงพ อใจของผู้บริโภคในด้านร ูปแ บบ รูปท รง และขนาดข องบรรจุภัณฑ์
รวมทั้งป ระเมินได้ว ่าบรรจุภ ัณฑ์น ั้นให้ค วามสะดวกในการใช้งานหรือไม่ เช่น การเปิด เทร ิน ปิดซ ้ำ เป็นต้น
2.3 การทดสอบกับกระบวนการผลิตและเคร่ืองบรรจุ โรงงานผลิตจำเป็นต้องมีการทดสอบต้นแบบบรรจุ
ภัณฑ์กับก ระบวนการผลิตจริง และกับเครื่องบ รรจุที่จ ะใช้ เพื่อให้มั่นใจว่าบ รรจุภัณฑ์ที่จะใช้มีความเหมาะสม ไม่ก่อ
ปัญหาการผลิต และไม่ทำให้การสูญเสียสูง ตัวอย่างเช่น การออกตลาดสินค้าอาหารที่ฆ่าเชื้อด้วยความร้อนและใช้
บรรจุภัณฑ์เป็นถุงพลาสติก ต้นแบบบรรจุภัณฑ์ของถุงจำนวนมากจะถูกสั่งซื้อมาทดสอบบรรจุอาหาร และผ่าน
กระบวนการบรรจุ ปิดผนึก และฆ่าเชื้อ แล้วตรวจสอบว่าถุงนั้นทนทานต่อความร้อนได้หรือไม่ มีการลอกชั้นหรือ
ร ั่วซ ึมเกิดข ึ้นห รือไม่ และแข็งแรงพ อที่จะทนทานต่อการต กกระแทกในระหว่างการล ำเลียงหรือไม่ อีกต ัวอย่าง ได้แก่
การอ อกแบบข วดพ ลาสตกิ บ รรจแุ ชมพใู หม้ รี ปู ท รงแ ปลกต า ตน้ แบบข วดแ ละฝ าจ ะถ กู ส ัง่ ซ ือ้ ม าทด ลอ งก บั เครือ่ งต ดิ ฉ ลาก
เครื่องบ รรจุ และเครื่องป ิดฝ าห ากเป็นเครื่องอ ัตโนมัติ ความเร็วส ูง จำนวนส ั่งซื้อจะต้องม าก เพื่อใช้ในการเดินเครื่อง
ในช ่วงเวลาที่กำหนด เพื่อให้มั่นใจว ่าในก ารผลิตจ ริงในป ริมาณมาก ๆ จะไม่ก่อปัญหาให้กับเครื่อง หากพ บว ่าต ้นแบบ
บรรจุภัณฑ์ส่วนใดมีปัญหา ก็ต้องให้ข้อคิดเห็น และปรับปรุงแก้ไข ถ้าการปรับปรุงนั้นไม่สามารถแก้ไขที่โมลด์ของ
ต้นแบบบ รรจุภ ัณฑ์ได้ อาจต ้องมีก ารทำโมลด์ใหม่แ ละท ดลองซ้ำ
ลิขสิทธ์ิของมหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช