Page 279 - ความรู้ทั่วไปเกี่ียวกับบรรจุภัณฑ์
P. 279

การพัฒนาและการออกแบบบรรจุภัณฑ์ 10-57
            2.3.2	การ​เลือก​ตัว​อักษร (letter) และ​ตัว​พิมพ์ (typeface) การนำ​ตัว​อักษร​หรือ​ตัว​พิมพ์​มา​ใช้​ใน​การ​
ออกแบบก​ ราฟิก ผู้อ​ อกแบบ​ควร​ศึกษาแ​ ละ​เรียนร​ ู้ ชนิด​ของ​ตัว​อักษร ได้แก่

                 1)	รูป​แบบ​ของ​ตัว​พิมพ์ (type style) มี​หลาก​หลาย​รูป​แบบ​ให้​เลือก​ใช้​ให้​เหมาะ​สม​กัน​และ​
สอดคล้อง​กับ​ผลิตภัณฑ์​ภายใน ได้แก่ ผลิตภัณฑ์​ที่​มี​ลักษณะ​เป็น​น้ำ รูป​แบบ​ของ​ตัว​พิมพ์ ควร​มี​ลักษณะ​พลิ้ว​ไหว
หรือผลิตภัณฑ์​ที่​เป็น​อาหาร ควร​มี​รูป​แบบ​ของ​ตัว​พิมพ์​กลม​มน ผลิตภัณฑ์​ที่​มี​ลักษณะ​หนัก​หรือ​เหล็ก รูป​แบบ​ของ
​ตัวพ​ ิมพ์ ควรเป็นเหลี่ยมแ​ ละมีความ​หนา เป็นต้น

                 2)	ขนาด​ของ​ตัว​พิมพ์ (type size) ที่​ใช้​ใน​การ​ออกแบบ​บรรจุ​ภัณฑ์ จะ​ต้อง​สร้าง​จุด​เด่น​หรือ​จุด​
สนใจใ​ห้​กับ​ผลิตภัณฑ์ ตราสินค​ ้า​ต้อง​มี​ตัว​อักษรท​ ี่​มีข​ นาดใ​หญ่ เพื่อ​สร้างจ​ ุด​เด่น​ให้เ​ห็นช​ ัด อ่าน​ได้ง​ ่าย รวดเร็ว และ​
สร้าง​การ​จดจำ ข้อความ​ที่​เป็น​ชื่อ​ผลิตภัณฑ์​ควร​มี​ขนาด​ที่​มอง​เห็น​ชัดเจน​ว่า​สินค้า​ที่​บรรจุ​อยู่​ภายใน​คือ​อะไร สำหรับ​
ส่วน​อื่น​ที่ต​ ้องแ​ สดง​ราย​ละเอียด เช่น ส่วนป​ ระกอบ วิธีใ​ช้ ข้อมูล​ทางโ​ภชนาการ และ​ประโยชน์ด​ ้านต​ ่าง ๆ ที่​ผู้​บริโภค​
ควร​รับ​รู้​ ควรม​ ี​ขนาด​เล็กก​ ว่า​แต่ยังคงอ่านไ​ด้​ชัดเจน

                 3)	รูป​ร่าง​ลักษณ์ของ​ตัว​พิมพ์ (type character) เป็น​ตัว​อักษร​สากล​ที่​นิยม​ใช้​กัน​แพร่​หลาย​ทั้ง​
ภาษาไ​ทยแ​ ละภ​ าษาอ​ ังกฤษ ลักษณะข​ องต​ ัวพ​ ิมพ์ภ​ าษาอ​ ังกฤษจ​ ำแนกอ​ อกเ​ป็น 4 ประเภทต​ ามค​ วามก​ ว้างข​ องต​ ัวพ​ ิมพ​์
ด้วยก​ ัน คือ

                     – 	 ประเภท​ตัวธ​ รรมดา ได้แก่ A B C D E F G H K N O P Q R S U V X Y Z
                     – 	 ประเภท​ตัวแ​ คบ ได้แก่ L T
                     – 	 ประเภท​ตัวก​ ว้าง ได้แก่ M W
                     – 	 ประเภท​ตัวบ​ าง ได้แก่ I J
       ทั้ง 4 ประเภท​นี้ เป็น​รูป​ร่าง​และ​ลักษณะ​ทั่วไป​ของตัว​พิมพ์​ใน​แต่ละ​ชุด ซึ่ง​มี​ความ​กว้าง​ที่​แตก​ต่าง​กัน​ไป
นอกจาก​นี้​ยัง​สามารถ​ออกแบบ​ให้​แตก​แขนง​ต่อ​ไป​ได้​อีก​หลาย​แบบ​ตาม​ลักษณะ​ความ​หนา บาง และ​ทิศทาง​ของ​เส้น
เช่น ตัวเ​อน ตัว​ธรรมดา ตัวบ​ างพ​ ิเศษ ตัวแ​ คบ ตัว​บาง ตัว​หนา ตัว​เส้น​ขอบ ตัวห​ นา​พิเศษ และ​ตัว​ดำ ในก​ ารผ​ สมค​ ำ​
นอกจากต​ ้องค​ ำนึง​ถึง​ประเภทข​ อง​ตัวอ​ ักษรแ​ ล้ว ยังต​ ้องค​ ำนึงถ​ ึงก​ าร​จัดจ​ ังหวะ​และช​ ่องไฟใ​ห้​สวยงาม เพื่อใ​ห้​ผู้บ​ ริโภค​
สามารถ​อ่าน​ได้​ชัดเจน
            2.3.3	การใ​ช้​รปู ภาพ มีบ​ ทบาท​สำคัญ​ต่อ​บรรจุ​ภัณฑ์​มาก สามารถใ​ช้​ภาพถ่ายหรือภ​ าพ​วาด ซึ่งม​ ัก​เรียก​
รวม ๆ ว่า ภาพ​ประกอบ (illustration) ได้ ภาพป​ ระกอบ​เป็นส​ ิ่ง​บ่ง​ชี้​ให้ผ​ ู้​บริโภค​ทราบ​ถึงช​ นิด​ของ​ผลิตภัณฑ์​ได้​อย่าง​
ชัดเจน ภาพ​ประกอบ​จะ​ทำ​หน้าที่​ช่วย​สร้าง​จุด​เด่น สร้าง​ความ​เข้าใจ​ใน​ตัว​ผลิตภัณฑ์ และ​สร้าง​ภาพ​ลักษณ์​ให้​กับ​
ผลิตภัณฑ์​อีกด​ ้วย แนวทางใ​น​การ​เลือกภ​ าพ​ประกอบ​มี 2 แนวทาง คือ
                 1)	การ​ใช้​ภาพ​วาด สามารถ​สื่อ​ความ​หมาย​ได้​ใกล้​เคียง​กับ​ภาพถ่าย และ​สร้าง​ภาพพจน์​ที่​ดี​ของ​
ผลิตภัณฑ์​ได้ แต่​ภาพ​วาด​จะ​ไม่​นิยม​ใช้​กับ​ผลิตภัณฑ์​ที่​เป็น​อาหาร เพราะ​ภาพ​วาด​ให้​ความ​รู้สึก​น่า​รับ​ประทาน​ได้​
น้อยก​ ว่า​ภาพถ่าย
                 2)	การ​ใช้​ภาพถ่าย สามารถ​สื่อ​ความ​หมาย​ผลิตภัณฑ์​ได้​ชัดเจน​ที่สุด แต่​ก็​ขึ้น​อยู่​กับ​คุณภาพ​
ของ​การ​ผลิต​งาน​พิมพ์ ที่​จะ​ส่ง​ผล​ให้​ภาพถ่าย​นั้น​สวยงาม​และ​เหมือน​จริง​ได้​มาก​น้อย​เพียง​ใด ทำให้​ผลิตภัณฑ์​นั้น​
น่า​รับ​ประทาน หรือน​ ่าใ​ช้​เพียงไ​ร
                 3) 	การเ​ลือกใ​ช้ภ​ าพ​ประกอบบ​ น​อารต์ ​เวริ ก์ ​ของบ​ รรจ​ุภัณฑ์ ควรค​ ำนึงถ​ ึงส​ ิ่ง​ต่อไ​ป​นี้
                     -ไมค่​ วรใ​ชภ้​ าพป​ ระกอบท​ ีแ่​ สดงถ​ ึงต​ ัวผ​ ลิตภัณฑท์​ ีม่​ ขี​ นาดใ​หญเ่​กินค​ วามเ​ป็นจ​ ริงจ​ ากข​ นาด​
ที่​บรรจุ​อยู่ใ​น​บรรจุภ​ ัณฑ์
                     -	 ไม่​ควร​ใช้​ภาพ​ประกอบ​ที่​แสดง​ถึง​ตัว​ผลิตภัณฑ์​ที่​ขัด​ต่อ​ความ​เชื่อ​และ​ความ​นิยม​ของ​
ผู้​บริโภค โดย​เฉพาะ​ความ​เชื่อ​ทาง​ศาสนา เพราะ​บางป​ ระเทศค​ วามเ​ชื่อ​ทางศ​ าสนา​เป็นส​ ิ่ง​ที่ส​ ำคัญ​และ​ส่งผ​ ลก​ระท​ บไ​ม่​ได้

                              ลิขสทิ ธ์ขิ องมหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช
   274   275   276   277   278   279   280   281   282   283   284