Page 277 - ความรู้ทั่วไปเกี่ียวกับบรรจุภัณฑ์
P. 277
การพัฒนาและการออกแบบบรรจุภัณฑ์ 10-55
– แบบผ สมผ สาน (combinative form)
ภาพท ี่ 10.20 ตัวอยา่ งรูปแ บบเคร่ืองหมายทางการคา้ แบบผสมผสาน
สิ่งสำคัญอ ย่างย ิ่งของก ารออกแบบรูปแ บบข องเครื่องหมายท างการค ้า คือ ต้องเห็นได้ชัดเจน สามารถดึงดูด
ผู้พบเห็น และแ ยกแยะได้ท ั้งในระยะใกล้แ ละไกล เครื่องหมายทางการค ้าแบบต ัวอ ักษรมีข้อดีตรงท ี่ผู้บริโภคสามารถ
อา่ นช ือ่ แ ละจ ดจำเครือ่ งหมายท างการค า้ ไปพ รอ้ ม ๆ กนั ในข ณะท เี่ ครือ่ งหมายท างการค า้ แ บบร ปู ภาพแ ละแ บบน ามธรรม
ก็มีข้อดีในด ้านส ามารถช่วยในการจดจำได้ง ่าย
คนส่วนใหญ่มักเข้าใจว่าเครื่องหมายทางการค้าเป็นภาพลักษณ์ที่เปลี่ยนแปลงไม่ได้ ในความเป็นจริงแล้ว
เครื่องหมายท างการค ้าส ามารถป รับเปลี่ยนได้ให้ส อดคล้องก ับย ุคส มัย โดยเฉพาะอ ย่างย ิ่งในช ่วงก ารอ อกต ลาดส ินค้า
ใหม่ ตัวอย่างของเครื่องหมายทางการค้าท ี่ม ีการเปลี่ยนแปลงตามยุคสมัย คือ เครื่องหมายทางการค ้าร ูปเปลือกหอย
ของบ ริษัทเชลล์ ซึ่งป ัจจุบันม ีค วามเรียบง่ายก ว่าเครื่องหมายท างการค ้าเดิม เพื่อให้ท ันสมัยและจดจำง ่ายขึ้น
ภาพท่ี 10.21 การเปลย่ี นแปลงเครอ่ื งหมายท างการค า้ ข องบรษิ ทั เชลล์
ทีม่ า: ชัยรัตน์ ชวางกูร “ออกแบบให้โดนใจ” ใน คู่มือการออกแบบบรรจุภัณฑ์สำหรับผู้ประกอบการและนักออกแบบ สำนักพัฒนาอุตสาหกรรม
สนับสนุน กรมส ่งเสริมอุตสาหกรรม 2548
ในกรณีที่เครื่องหมายทางการค้าและตราสินค้าต่างกัน การออกแบบกราฟิกของอาร์ตเวิร์กจะมีเครื่องหมาย
ทางการค ้าอ ยู่หรือไม่ก็ได้ ถ้าม ีเครื่องหมายทางการค ้าจะอ ยู่ด ้านห น้าห รือด้านหลังข องบ รรจุภ ัณฑ์ก็ได้ ไม่มีก ฎเกณฑ์
ตายตัว
ลิขสทิ ธิ์ของมหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช