Page 284 - ความรู้ทั่วไปเกี่ียวกับบรรจุภัณฑ์
P. 284
10-62 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์
ภาพท ี่ 10.27 มาสเตอรแ์ บชทใี่ ช้ผสมลงในเมด็ พ ลาสติกในการข ึน้ ร ูปพ ลาสติก
1.2 การพิมพจ์ ากอารต์ เวิร์ก มี 2 ลักษณะ คือ การพ ิมพ์บนบ รรจุภ ัณฑ์โดยตรงแ ละก ารพิมพ์บนฉลาก
1.2.1 การพิมพ์บนบรรจุภัณฑ์โดยตรง ถ้าอาร์ตเวิร์กนั้นพิมพ์บนผิวบรรจุภัณฑ์โดยตรง เช่น บนผิว
กระดาษแ ขง็ ซ ึง่ ม สี ขี าว ไมต่ อ้ งท ำต น้ แบบก ลอ่ งก ระดาษแ ขง็ ใหเ้ ปน็ ส ี เพราะส ขี องก ลอ่ งม าจ ากก ารพ มิ พ์ ไมไ่ ดม้ าจ ากก าร
ใส่ส ีล งไปในเนื้อก ระดาษ แต่ถ ้าพ ิมพ์บ นผ ิวข องข วดห รือถ ้วยห รือห ลอดพ ลาสติกด ้วยว ิธีก ารพ ิมพ์ส กรีน และต ้องการ
ให้บ รรจุภ ัณฑ์พ ลาสติกนั้นม ีสีเฉพาะ จำเป็นต้องท ำต้นแบบบ รรจุภ ัณฑ์พลาสติกน ั้นให้มีส ีตามที่ต ้องการก่อน
1.2.2 การพิมพ์บนฉลาก ถ้าต้นแบบกราฟิกนั้นไม่ได้พิมพ์บนผิวของบรรจุภัณฑ์โดยตรง เช่น พิมพ์
บนฉ ลากที่จะน ำไปต ิดบนผิวของบ รรจุภัณฑ์ การพิมพ์บนฉ ลากต ้องใช้วัสดุฉลากท ี่จะใช้จริง เพื่อให้ผลที่ได้ใกล้เคียง
บรรจุภัณฑ์จริงที่สุด สำหรับวิธีการพิมพ์ของอาร์ตเวิร์กต้นแบบนั้น ควรใช้วิธีพิมพ์จริงเช่นกันในกรณีที่มีต้นแบบ
อาร์ตเวิร์กหลายแบบ และวิธีการพิมพ์เป็นแบบกราวัวร์ นักออกแบบกราฟิกมักจะตกลงกับผู้ผลิตสินค้าขอให้ใช้วิธี
การพิมพ์แ บบด ิจิทัลแทน เพื่อประหยัดค ่าใช้จ่าย เนื่องจากแม่พิมพ์กราวัว ร์ร าคาส ูงมาก นอกจากนี้ฉ ลากท ี่พ ิมพ์ด้วย
ระบบกราวัว ร์ยังต ้องสั่งค รั้งล ะจำนวนมาก เช่น อย่างต ่ำ 20,000-50,000 ชิ้น ขึ้นกับข นาดของฉ ลาก ในขณะท ี่ค วาม
ต้องการของฉลากของต้นแบบอาร์ตเวิร์กเพื่อประเมินการออกแบบมีจำนวนเพียง 200-500 ชิ้นโดยประมาณเท่านั้น
จึงท ำใหต้ ้องเสียค ่าใชจ้ ่ายส ูงเกินค วามจ ำเป็น หลังจ ากไดฉ้ ลากท ีพ่ ิมพแ์ ล้ว ต ้องท ำการต ิดฉ ลากบ นต ้นแบบบ รรจภุ ัณฑ์
โครงสร้างและปิดฝ าให้เรียบร้อยเพื่อให้ได้ต ้นแบบบ รรจุภ ัณฑ์ที่สมบูรณ์
2. การประเมนิ แ ละเลอื กตน้ แบบก ราฟกิ ของบ รรจภุ ณั ฑ์
ตามท ีก่ ลา่ วม าแ ล้วเกี่ยวก ับก ารเลือกแ ละป ระเมินผ ลข องตน้ แบบบ รรจภุ ัณฑด์ า้ นโครงสร้างว ่าการท ดสอบก าร
ยอมรับของก ลุ่มผ ู้บ ริโภคเป้าหมาย มักน ิยมทำกับต ้นแบบโครงสร้างและกราฟิกไปพ ร้อม ๆ กัน เพราะทั้งโครงสร้าง
และกราฟิกที่เกี่ยวก ับลักษณะภ ายนอกเป็นสิ่งท ี่แ ยกจากกันไม่ได้ในม ุมมองของผ ู้บริโภค
การเลือกต ้นแบบบ รรจุภ ัณฑน์ ี้ ในก รณที ีส่ ินค้าเป็นต ราสินค ้าท ีม่ ีชื่อเสียงแ ละเป็นข องบ ริษัทใหญ่ การท ดสอบ
การย อมรับข องก ลุ่มผู้บ ริโภคเป้าหมายนิยมทำในรูปของการวิจัยผ ู้บริโภค (consumer research) เพื่อให้ได้ข้อมูลท ี่
ละเอียด เช่น รูปท รง สี ข้อความด า้ นส รรพคณุ ผ ลิตภณั ฑ์ รปู ภาพ ตราร บั รองค ุณภาพ และร าคา ซึ่งมผี ลต ่อก ารต ดั สนิ ใจ
ซื้อของผ ู้บริโภค
รูปแบบการวิจัยผู้บริโภคที่นิยมใช้กัน คือ การสนทนากลุ่ม (focus group discussion) ซึ่งเป็นกลุ่ม
ผู้บ ริโภคท ี่ค ุ้นเคยก ับผ ลิตภัณฑ์ท ี่ต ้องการพ ัฒนาบ รรจุภ ัณฑ์ จำนวนค นในก ลุ่มม ักเป็นกล ุ่มล ะ 8 ถึง 10 คน ในร ะหว่าง
ลิขสิทธิข์ องมหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช