Page 289 - ความรู้ทั่วไปเกี่ียวกับบรรจุภัณฑ์
P. 289
การพัฒนาและการออกแบบบรรจุภัณฑ์ 10-67
เครือ่ งพมิ พ์ ผคู้ วบคมุ เครือ่ งพมิ พ์ เปน็ ตน้ ดงั น ัน้ จงึ ม กี ารก ำหนดข อ้ บ กพรอ่ งข องง านพ มิ พไ์ ว้ รวมท ัง้ เกณฑท์ ีย่ อมรบั ได้
และว ธิ กี ารท ดสอบมาตรฐานเพือ่ เปน็ ข อ้ ต กลงร ะหวา่ งผ ผู้ ลติ ส นิ คา้ แ ละผ ผู้ ลติ ง านพ มิ พบ์ รรจภุ ณั ฑ์ กอ่ นจ ะม กี ารส ัง่ พมิ พ์
การทดสอบคุณภาพข องงานพิมพ์บ รรจุภ ัณฑ์ แสดงดังตารางท ี่ 10.10
ตารางท ่ี 10.10 สมบัตขิ องง านพ ิมพ์และวธิ ที ดสอบคณุ ภาพ
สมบตั ิของงานพมิ พ์ วิธที ดสอบคณุ ภาพ
1. การยึดติดของหมึกพิมพ์ (ink adhesion) ใช้สกอตเทปติดทิ้งไว้ 15 วินาที
(หากเป็นการพิมพ์บนผิวนอกของวัสดุบรรจุภัณฑ์) ดึงเทปออกที่มุม 180o กับผิวบรรจุภัณฑ์
2. ความคงทนต่อแสง (light fastness) ใช้วิธีตากแดดเป็นเวลา 25, 50, 75, 100 ชั่วโมง
เทียบกับ control
3. ความต้านทานต่อการขัดถู (rub resistance) ASTM D 1044 (plastic film), TAPPI 476 (paper)
4. ความมันวาว (gloss) ใช้ gloss meter
5. การอ่านได้ของสัญลักษณ์รหัสแท่งหรือบาร์โค้ด ใช้เครื่องสแกนเนอร์มาตรฐาน
(bar code readability)
6. ข้อบกพร่องอื่น ๆ เช่น ขี้หมึก พิมพ์เหลื่อม สีเพี้ยน ใช้คนตรวจสอบ
เป็นที่สังเกตว่าบริษัทผู้ผลิตสินค้ารายใหญ่มักมีวิธีการทดสอบเหล่านี้เป็นของตนเอง ซึ่งอาจต่างไปจากวิธี
ทดสอบม าตรฐานร ะหวา่ งป ระเทศไปบ า้ ง ผผู้ ลติ บ รรจภุ ณั ฑจ์ ำเปน็ ต อ้ งต รวจส อบว า่ ล กู คา้ (ผผู้ ลติ ส นิ คา้ ) ใชว้ ธิ ที ดสอบใด
แต่เพื่อขจัดปัญหาผ ลทดสอบที่ต่างกันอันเป็นผลมาจากว ิธีทดสอบต่างก ัน ควรใช้วิธีท ดสอบเดียวกัน
ข้อบ กพร่องข องงานพ ิมพ์บ รรจุภ ัณฑ์ แบ่งเป็น 3 ระดับ ดังนี้
ระดบั วกิ ฤต (critical defect) หมายถึง ข้อบกพร่องง านพ ิมพ์ในระดับต่อไปนี้
– ไม่เป็นไปต ามกฎระเบียบข้อบังคับของบ รรจุภัณฑ์ เช่น อย. ผิด ไม่มี อย. หรือ อย.ไม่ชัดเจน ใน
กรณีที่สินค้าจำหน่ายในป ระเทศไทย และต้องข ึ้นท ะเบียนอ าหารแ ละยาก ับก ระทรวงส าธารณสุข
– พิมพ์ผ ิด โดยก ารใช้อ าร์ตเวิร์กผ ิด
– บาร์โค้ดอ่านไม่ได้ด ้วยเครื่องสแกนเนอร์ อันจะม ีผ ลต่อระบบก ารจ ัดจ ำหน่าย
– สีพ ิมพ์ห ลุดออกเมื่อท ดสอบตามวิธีท ี่ก ำหนด
ระดบั ร นุ แรง (major defect) หมายถ ึง ข้อบ กพร่องง านพ ิมพท์ ีไ่ม่มผี ลต ่อก ฎร ะเบียบข ้อบ ังคับข องบ รรจุภ ัณฑ์
ไม่มีผ ลต่อการค ้า แต่มีผ ลต่อก ารยอมรับของผ ู้บ ริโภค และต่อภ าพลักษณ์ของบริษัทผู้ผลิตส ินค้า เช่น สีที่พ ิมพ์ต่างไป
จากค ณุ ภาพม าตรฐานท อี่ นมุ ตั ไิ วอ้ ยา่ งช ดั เจน พมิ พเ์ หลือ่ มอ ยา่ งเหน็ ไดช้ ดั เจน สไี มท่ นแ ดดเมือ่ ท ดสอบต ามว ธิ ที กี่ ำหนด
ตำแหน่งที่ป ั๊มเงินค ลาดเคลื่อนอย่างช ัดเจนหรือไม่สมบูรณ์
ระดับเลก็ นอ้ ย (minor defect) หมายถ ึง ข้อบ กพร่องงานพ ิมพ์เล็กน้อยท ี่ไม่มีผลต ่อการยอมรับของผ ู้บริโภค
ส่วนใหญ่ หรือต่อภาพลักษณ์ของบริษัทผู้ผลิตสินค้า แต่อาจมีผู้บริโภคบางรายสังเกตเห็น และเกิดความลังเลใน
การซ ื้อส ินค้านั้น เช่น พิมพ์เหลื่อมเล็กน ้อย ความม ันว าวท ี่เกิดจ ากง านเคลือบน้อยล งก ว่าท ี่อ นุมัติไว้ เป็นต้น การต รวจ
สอบคุณภาพและเกณฑ์ในการยอมรับของงานพิมพ์บรรจุภัณฑ์ใช้หลักการเดียวกับการควบคุมคุณภาพของวัสดุและ
บ รรจุภ ัณฑ์ด้านโครงสร้างท ี่กล่าวไว้ในเรื่องท ี่ 10.3.4 ตัวอย่างข องข้อบกพร่องใน 3 ระดับ และเกณฑ์การย อมรับข อง
บรรจุภัณฑ์สำหรับสินค้าป ระเภทอ าหารและสินค้าอุปโภคจะกล่าวถึงในตอนที่ 10.4
ลขิ สทิ ธข์ิ องมหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช