Page 291 - ความรู้ทั่วไปเกี่ียวกับบรรจุภัณฑ์
P. 291
การพัฒนาและการออกแบบบรรจุภัณฑ์ 10-69
2. การออกข้อกำหนดด้านสีของเน้ือวัสดุบรรจุภัณฑ์คงรูปจำพวกพลาสติกและแก้ว ให้กำหนดให้
ชดั เจนว า่ บ รรจภุ ณั ฑส์ ว่ นใดท ต่ี อ้ งการใหม้ สี ี และใชส้ ขี องบ รษิ ทั อ ะไร รหสั ข องม าสเตอ รแ์ บช รวมท งั้ อ ตั ราสว่ น
ในก ารผ สมลงไปในเม็ดพ ลาสตกิ
3. ข้อกำหนดด้านงานพิมพ์บรรจุภัณฑ์ที่ควรระบุให้ชัดเจน ได้แก่ วิธีการพิมพ์ ชนิดของวัสดุที่พิมพ์
และจำนวนสีที่พิมพ์ โดยอ้างอิงจากอาร์ตเวิร์กและคุณภาพงานพิมพ์ท่ีอนุมัติโดยผู้รับผิดชอบด้านกราฟิก
บรรจุภณั ฑข์ องบรษิ ทั ผผู้ ลติ ส ินค้า
4. จากสมบตั ขิ องงานพมิ พใ์ นตารางระบวุ ธิ กี ารท ดสอบในก ารค วบคมุ ค ณุ ภาพก ารพ มิ พบ์ นบ รรจภุ ณั ฑ์
ทใ่ี ชเ้ ปน็ ข ้อตกลงระหวา่ งผ ผู้ ลิตส ินคา้ แ ละผ ้ผู ลิตง านพิมพ์บรรจภุ ณั ฑ์กอ่ นจ ะมีการส ั่งซ ้อื ไดด้ งั นี้
สมบัตขิ องงานพมิ พ์ วธิ ีทดสอบคณุ ภาพ
1. ยึดติดของหมึกพิมพ์ ใช้สกอตเทปติดทิ้งไว้ 15 วินาที ดึงเทปออกที่มุม 180o กับผิวบรรจุภัณฑ์
2. ความคงทนต่อแสง ใช้ gloss meter
3. ความต้านทานต่อการขัดถู ASTM D 1044 (plastic film), TAPPI 476 (paper)
5. ขอ้ บกพรอ่ งของงานพมิ พบ์ รรจุภณั ฑ์ ตอ่ ไปนจ้ี ดั เปน็ ข ้อบ กพรอ่ งระดับใด
ขอ้ บกพร่องของงานพิมพ์บรรจุภัณฑ์ ระดบั ข้อบกพร่อง
เลข อย. ผิด ระดับวิกฤต
สีที่พิมพ์ซีดจาง ระดับรุนแรง
พิมพ์เหลื่อมไม่มาก ระดับเล็กน้อย
พิมพ์เหลื่อมอย่างเห็นได้ชัดเจน ระดับรุนแรง
สีไม่ทนแดดเมื่อทดสอบตามวิธีที่กำหนด ระดับรุนแรง
บาร์โค้ดอ่านไม่ได้ด้วยเครื่องสแกนเนอร์ ระดับวิกฤต
ตำแหน่งที่อัดตัดตามแม่แบบคลาดเคลื่อนอย่างชัดเจน ระดับรุนแรง
ความมันวาวที่เกิดจากงานเคลือบน้อยลงกว่าที่อนุมัติไว้ ระดับเล็กน้อย
สีที่พิมพ์ต่างไปจากคุณภาพตามมาตรฐานที่อนุมัติไว้อย่างชัดเจน ระดับรุนแรง
สีของเครื่องหมายการค้าไม่ตรงกับคุณภาพตามมาตรฐานที่อนุมัติไว้ ระดับวิกฤต
ลขิ สทิ ธิข์ องมหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธิราช