Page 295 - ความรู้ทั่วไปเกี่ียวกับบรรจุภัณฑ์
P. 295
การพัฒนาและการออกแบบบรรจุภัณฑ์ 10-73
ขั้นตอนในการพัฒนาและออกแบบบรรจุภัณฑ์ของช็อกโกแลต MN มี 4 ขั้นตอนดังนี้ การรวบรวมข้อมูล
ท ี่เกี่ยวข้อง การพ ัฒนาแ ละอ อกแบบด ้านโครงสร้าง การพ ัฒนาแ ละอ อกแบบด ้านก ราฟิก และข ้อก ำหนดท ี่ส มบูรณ์แ ละ
การควบคุมค ุณภาพของบรรจุภ ัณฑ์
1. การรวบรวมข ้อมลู ท เ่ีกี่ยวขอ้ ง
ข้อมูลที่ฝ่ายพัฒนาบรรจุภัณฑ์ของบริษัท ABC ต้องรวบรวม ได้แก่ ข้อมูลการตลาด ข้อมูลผลิตภัณฑ์
ข้อมูลด ้านก ารผลิต และข้อมูลด ้านก ฎระเบียบข้อบ ังคับข องบรรจุภ ัณฑ์และผ ลิตภัณฑ์ ซึ่งสรุปได้ดังนี้
1.1 ข้อมูลการตลาด ฝ่ายการตลาดได้ให้ข้อมูลว่า ช็อกโกแลต MN ที่จะออกตลาดมีขนาดบรรจุ 80 กรัม
รูปร ่างและข นาดใกล้เคียงกับช ็อกโกแลต OM ขนาดบรรจุ 80 กรัม ที่ผลิตอยู่แ ล้ว ต่างกันตรงสูตรแ ละส่วนผ สมท ี่เน้น
รสนิยมกลุ่มวัยรุ่นคนไทยในเมืองใหญ่ ซึ่งมีกำลังซื้อค่อนข้างสูง และชอบความแปลกใหม่ บรรจุภัณฑ์ที่ต้องการจะ
เป็นรูปแบบห่อเช่นเดียวกับที่ใช้กับช็อกโกแลต OM แต่ต้องการความมันวาวเป็นพิเศษเพื่อสื่อตำแหน่งของสินค้าใน
ระดับส ูง (premium segmentation) นอกจากนี้ยังต ้องการให้ฉีกเปิดห ่อได้ง่ายเวลาร ับประทาน กราฟิกของห่อต้อง
มีร ูปแบบเช่นเดียวกับช ็อกโกแลต OM เพื่อส ื่อว ่าเป็นของบ ริษัทเดียวกัน การกระจ ายส ินค้าก็เช่นเดียวก ับช ็อกโกแลต
OM ที่ผลิตและขายอยู่แ ล้ว ปริมาณก ารขายค าดว่าจ ะอ ยู่ที่ 4 ล้านห่อในปีแ รกแ ละอ าจสูงถึง 5 ล้านห ่อในปีท ี่ 2
1.2 ข้อมูลผลิตภัณฑ์ ฝ่ายพัฒนาผลิตภัณฑ์ได้แจ้งว่าช็อกโกแลต MN นี้มีสมบัติทางกายภาพและเคมี
ใกล้เคียงกับช็อกโกแลต OM ที่ผลิตอยู่แล้ว ต้องการสกัดกั้นการซึมผ่านของไอน ้ำจากภายนอก เพื่อไม่ให้ผิวหน้า
ช็อกโกแลตเปียกช ื้น ต้องการก ารส กัดกั้นการซึมผ่านของก ๊าซอ อกซิเจนจ ากภ ายนอก เพื่อไมใ่ หช้ ็อกโกแลตม กี ลิ่นเหม็น
หืน และส ูญเสียกลิ่นเฉพาะของช ็อกโกแลตที่เคลือบอยู่ที่ผิว อายุก ารเก็บข องช ็อกโกแลตที่บรรจุในห่อจะอยู่ท ี่ 1 ปี
1.3 ขอ้ มลู ด้านก ารผลิต ฝ่ายผ ลิตได้เสนอให้ใช้เครื่องบรรจุอ ัตโนมัติ (form-fill-seal: FFS) แถวเดียวแ บบ
แนวนอนซึ่งอยู่ที่โรงงาน ABC-5 เครื่องนี้ไม่เคยใช้ผลิตในเชิงการค้ามาก่อน แต่เคยใช้กับการทดลองเท่านั้น เครื่อง
ยังอยู่ในสภาพที่ดี แต่ต้องมีการทดลองบรรจุ การที่ไม่สามารถใช้เครื่องจักรบรรจุแบบหลาย ๆ แถวที่มีอยู่แล้ว กับ
ช็อกโกแลต MN เนื่องจากกำลังก ารผลิตค่อนข้างสูงอยู่แ ล้ว ความเร็วข องเครื่องบ รรจุแบบแ ถวเดียวน ี้คาดว่าจ ะอ ยู่ที่
ประมาณ 80-100 ห่อต่อน าที เครื่องน ี้ต้องใช้แ กนของม ้วนฟิล์มท ี่มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 76 มิลลิเมตร เครื่องน ี้ส ามารถ
บรรจุได้ป ระมาณ 6 ล้านห่อต อป ี ซึ่งเพียงพอต ่อแผนการข ายปีล ะ 5 ล้านห่อต่อป ี
1.4 ขอ้ มลู ดา้ นกฎระเบียบข อ้ บังคับของบ รรจภุ ณั ฑแ์ ละผ ลิตภัณฑ์ ฝ่ายกฎหมายข องบ ริษัท ABC ได้แ จ้งว่า
กำลังด ำเนินการขอจดแจ้งขอเลข อย. จากสำนักงานอาหารแ ละย า กระทรวงส าธารณสุข คาดว่าจะได้เลข อย. เพื่อใช้
ในการพ ิมพ์บนห ่อช ็อกโกแลตในเร็ว ๆ นี้ ประเทศไทยไม่มีกฎระเบียบด้านส ิ่งแ วดล้อม จึงไม่จำเป็นต ้องพิมพ์ข้อมูล
เกี่ยวกับส ิ่งแวดล้อมล งไปที่ห ่อข องช็อกโกแลต
2. การพฒั นาแ ละออกแบบด้านโครงสร้าง
การพ ัฒนาแ ละอ อกแบบด ้านโครงสร้างข องบ รรจภุ ัณฑช์ ็อกโกแลตน ีป้ ระกอบด ้วยข ั้นต อน 10 ขั้นต อนต ่อไปน ี้
1) สรุปค วามต้องการข องห ่อช็อกโกแลต 2) การพิจารณาหาว ัสดุท ี่ใช้เป็นฟ ิล์มห ่อช็อกโกแลต 3) การจ ัดหาบ รรจุภ ัณฑ์
4) การจ ัดท ำต ้นแบบบรรจุภ ัณฑ์เพื่อใช้ท ดลอง 5) การวิเคราะห์ส มบัติของฟ ิล์มพลาสติกในด ้านการป ้องกันไอน้ำแ ละ
ก ๊าซออกซิเจน 6) การทดลองกับเครื่องบ รรจุ 7) การทดลองอ ายุก ารเก็บข องช็อกโกแลตที่ห ่อแล้วแ ละความเข้ากันได้
ระหว่างฟิล์มก ับช็อกโกแลต 8) การเปรียบเทียบราคาร ะหว่างฟ ิล์มพลาสติกทั้ง 2 โครงสร้าง 9) สรุปผลเปรียบเทียบ
ระหว่าง 2 โครงสร้างของฟิล์มที่ใช้ห่อช็อกโกแลต และ 10) สรุปข้อกำหนดโครงสร้างของฟิล์มพลาสติกที่ใช้ห่อ
ช็อกโกแลต
ลขิ สทิ ธ์ขิ องมหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช