Page 327 - ความรู้ทั่วไปเกี่ียวกับบรรจุภัณฑ์
P. 327
บรรจุภัณฑ์ที่ยั่งยืน 15-5
ความนำ
บรรจุภัณฑ์ที่ยั่งยืน เป็นข้อความที่อาจทำให้สงสัยว่า บรรจุภัณฑ์ไม่น่าจะอยู่ยั่งยืนได้ เพราะเมื่อผู้บริโภค
บริโภคส ินค้าท ีบ่ รรจุแล้ว มักท ิ้งซ ากบ รรจุภ ัณฑ์ใหก้ ลายเป็นข ยะ ยกเว้นบ รรจภุ ัณฑค์ งร ูปบ างป ระเภทท ีม่ กี ารอ อกแบบ
อย่างสวยงามเพื่อให้ผู้บริโภคไม่อยากทิ้งเป็นขยะและสามารถนำกลับมาใช้ประโยชน์ต่อไปอีกหลังจากบริโภคสินค้า
แล้ว ซึ่งเป็นแ นวทางห นึ่งในก ารพ ัฒนาบรรจุภัณฑ์ใ ห้สามารถมีความยั่งยืนได้ ลักษณะบ รรจุภ ัณฑ์ท ี่ยั่งยืนในห น่วยน ี้
จะกล่าวถ ึงบ รรจุภ ัณฑ์ท ี่อ อกแบบโดยค ำนึงถ ึงก ารพ ัฒนาท ี่ย ั่งยืนต ลอดว ัฏจักรชีวิตบ รรจุภ ัณฑ์ กล่าวค ือ ถึงแม้บ รรจุ-
ภัณฑ์ที่ทิ้งไปแล้ว แต่ยังมีการนำซากบรรจุภัณฑ์นั้นกลับมาใช้ประโยชน์ได้อีกด้วยวิธีการต่าง ๆ อาทิ การรีไซเคิล
การเผาเพื่อให้ได้เป็นพลังงานก ลับคืนม าใช้ประโยชน์ โดยให้ม ีการเหลือซากบรรจุภ ัณฑ์ทิ้งน ้อยที่สุด
เรื่องที่ 15.1.1
แนวคดิ เกี่ยวก ับก ารพ ัฒนาท ีย่ ่งั ยนื
การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development: SD) เป็นแนวคิดที่มีมานานแล้วโดยเริ่มขึ้นจากกลุ่ม
ผู้อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมที่คำนึงถึงผลกระทบต่อระบบนิเวศที่เกิดจากการตัดไม้ทำลายป่า แล้วส่งผลให้สมดุลของ
สิ่งแวดล้อมเสียไป และน ำไปส ู่ร ะบบก ารพัฒนาที่ย ั่งยืน นิยามและอ งค์ประกอบส ำคัญของการพ ัฒนาที่ยั่งยืน มีดังนี้
1. นยิ ามการพ ัฒนาทย่ี งั่ ยืน
การพ ัฒนาที่ย ั่งยืน ได้ร ับความส นใจและม ีก ารดำเนินกิจกรรมเกี่ยวกับก ารพัฒนาที่ย ั่งยืนมากขึ้นในปัจจุบัน
โดยเริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 2515 (ค.ศ. 1972) องค์การสหประชาชาติมีการจัดประชุมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมของมนุษย์
ณ กรุงสตอกโฮล์ม ประเทศสวีเดน เพื่อให้ทั่วโลกค ำนึงการใช้ทรัพยากรท ี่มีอยู่จำกัดอย่างมีประสิทธิภาพ ต่อมาค ณะ
กรรมาธิการสิ่งแวดล้อมและการพัฒนาของโลก (World Commission on Environment and Development:
WCED) หรือเป็นท ี่ร ู้จักก ันในน ามข อง Brundtland Commission ที่จ ัดต ั้งข ึ้นโดยอ งค์การส หป ระชาต ิ ได้ให้ค ำน ิยาม
การพัฒนาที่ยั่งยืนแ ละต ีพ ิมพ์เผยแพร่ในร ายงานที่ม ีชื่อว่า “Our Common Future” เมื่อ พ.ศ. 2530 (ค.ศ. 1987)
เกี่ยวก ับก ารพ ัฒนาท ี่ย ั่งยืนโดยร ะบคุ ำน ิยามในร ายงานว ่า การพ ฒั นาท ยี่ ง่ั ยนื เปน็ แ นวคดิ ท เี่ นน้ ก ารพ ฒั นาท ต่ี อบส นอง
ความต้องการของคนรุ่นปัจจุบัน โดยคำนึงถึงความต้องการของคนในอนาคต จากรายงานดังกล่าวได้ระบุถึง
ความต้องการให้มีการสร้างความร่วมมือในระดับโลก ในการช่วยกันรักษาและป้องกันสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ
ไว้ จากก ารท ี่เกิดความเสื่อมโทรมแ ละส ูญเสียท างทรัพยากรธรรมชาติท ี่ส่วนหนึ่งม ีสาเหตุม าจากภ าคอ ุตสาหกรรม จึง
ทำใหภ้ าคอ ุตสาหกรรมต ้องแ สดงบ ทบาทด ้านค วามร ับผ ิดช อบต ่อส ังคมแ ละร ะบบน ิเวศม ากข ึ้น อาทิ การป รับปรุงร ะบบ
การผลิตและระบบการดำเนินการในอุตสาหกรรมให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น รวมทั้งการเลือกใช้แหล่งทรัพยากรหรือ
วตั ถดุ บิ การล ดม ลพษิ แ ละข องเสยี ท เี่ กดิ จ ากอ ตุ สาหกรรม โดยในด า้ นก ารเลอื กใชแ้ หลง่ ท รพั ยากร มุง่ เนน้ ก ารใชว้ ตั ถดุ บิ
จากแหล่งทรัพยากรท ี่สามารถส ร้างทดแทนได้ (renewable resource) มากกว่าก ารใช้วัตถุดิบจ ากแหล่งท รัพยากรท ี่
ลิขสทิ ธ์ิของมหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช