Page 83 - แนวคิดทางการแนะแนวและทฤษฎีการปรึกษาเชิงจิตวิทยา หน่วยที่ 1
P. 83

แนวคิดเกี่ยวกับการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา 1-73

ให้บริการปรึกษา ทำ�ให้การให้ความช่วยเหลือทางวิชาชีพการให้บริการปรึกษาเกิดขึ้นได้ยาก และไม่เป็นผล
สำ�เร็จและอาจก่อให้เกิดความเสื่อมเสียต่อวงการวิชาชีพนี้ได้

                แนวปฏิบัติในการป้องกันปัญหา
                1) 	ผู้ใหก้ ารปรกึ ษาตอ้ งระมัดระวังกริ ิยาทา่ ที คำ�พดู และการกระท�ำ ที่ส่อไปในทางดงึ ดดู
ความสนใจทางเพศแก่ผู้มารับการปรึกษา
                2) 	ผู้ให้การปรึกษาจะต้องกำ�หนดขอบเขตหน้าที่ของตนเอง และขอบเขตสัมพันธภาพ
ที่มีต่อผู้รับการปรึกษาอย่างชัดเจน
                3) 	ผูใ้ หก้ ารปรกึ ษาจะตอ้ งไมใ่ หก้ ารปรกึ ษานอกสถานทีห่ รอื โทรศพั ทใ์ หก้ ารปรกึ ษา (การ
โทรศัพท์ให้การปรึกษาอาจยกเว้นในกรณีวิกฤต เช่น ผู้รับการปรึกษามีความคิดอยากฆ่าตัวตาย เป็นต้น)
                4) 	ผู้ให้การปรึกษาจะต้องหลีกเลี่ยงสัมพันธ์ภาพทางสังคมกับผู้รับการปรึกษา เช่น ไป
รับประทานอาหารด้วยกัน ไปทัศนศึกษา-ท่องเที่ยวด้วยกัน หรือแม้แต่นั่งรถไปด้วยกันตามลำ�พัง เป็นต้น
            นอกจากนี้ในด้านความสัมพันธ์เชิงชู้สาว หรือมีความสัมพันธ์ทางเพศกับนักศึกษา ผู้รับ
การนิเทศเพื่อนร่วมงานในวิชาชีพการให้บริการปรึกษาและผู้เป็นกลุ่มตัวอย่างงานวิจัย ก็เป็นสิ่งที่ต้องห้าม
หากจะกล่าวในประเด็นเพื่อนร่วมงานในวิชาชีพเดียวกัน ก็มีผลกระทบมากหากเกิดเหตุนี้ขึ้น โดยอาจทำ�ให้
สัมพันธภาพระหว่างเพื่อนร่วมงานเปลี่ยนไป อาจทำ�ให้เกิดการขาดความเคารพซี่งกันและกัน เกิดการดูหมิ่น
เหยียดหยามกัน การทะเลาะวิวาทกันก็เกิดขึ้นได้ง่าย ก่อให้เกิดบรรยากาศตึงเครียดในการทำ�งาน ความไม่
เป็นกลางในการพิจารณางานต่างๆ ที่เป็นผลต่อผู้รับการปรึกษา วิชาชีพการแนะแนวและองค์กรโดยส่วนรวม
                แนวปฏิบัติในการป้องกันปัญหา
                1) 	มีการปฏิบัติต่อกันด้วยกิริยามารยาทที่เหมาะสมที่สุภาพชนพึงปฏิบัติต่อกัน และมี
ความรักและการให้เกียรติและเคารพซึ่งกันและกัน
                2) 	ระมัดระวังกิริยา ท่าที คำ�พูด การกระทำ�ที่เป็นการดึงดูดเพศตรงข้ามให้มาสนใจ
ตนเอง
                3) 	หลีกเลี่ยงการเดินทางไปไหนด้วยกันตามลำ�พังกับเพศตรงข้าม
                4) 	ติดต่อกันเฉพาะเรื่องงานที่ทำ� สำ�หรับเรื่องส่วนตัวอื่นๆ ก็อาจช่วยเหลือกันในกรณี
จำ�เป็นด้วยเหตุและการกระทำ�ที่เหมาะสม
                5) 	กำ�หนดขอบเขตของตนเอง และเพื่อนร่วมงานให้ชัดเจน และเหมาะสม
            4.3 	ด้านความสามารถทางวิชาชีพ จรรยาวิชาชีพในเรื่องนี้ กำ�หนดไว้ในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับ
คุณธรรม จริยธรรม และความยุติธรรม ในวิชาชีพการแนะแนว โดยนักแนะแนวและผู้ให้การปรึกษาจะต้อง
มีความรู้ ความสามารถ มีทักษะ การฝึกฝน และการนิเทศมาเพียงพอในการออกไปให้บริการปรึกษา
            หากผใู้ ดรบั การปรกึ ษาทขี่ าดประสบการณไ์ มว่ า่ เรือ่ งใหท้ กั ษะ/เทคนคิ การปรกึ ษา ความแมน่ ย�ำ
ในทฤษฎี ประยุกต์ใช้ทฤษฎีและเทคนิคให้เหมาะสมกับปัญหา และผู้รับการปรึกษาจะก่อให้เกิดความเสีย
หายแก่ผู้รับการปรึกษา และวิชาชีพ ทำ�ให้งานการให้บริการปรึกษาไร้คุณค่า ขาดความเชื่อถือจากบุคคลและ
สังคมภายนอก
   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88