Page 15 - การวิจัยและสถิติทางการศึกษา หน่วยที่ 13
P. 15

สถิตนิ ันพาราเมตริก 13-5

เร่ือง​ที่ 13.1.1 ความห​ มายแ​ ละค​ วาม​แตก​ต่างร​ ะ​หวา่ ง​
	 สถติ ​นิ ัน​พารา​เมตรกิ กบั ส​ ถิต​พิ าราเ​มตรกิ

1. 	ความ​หมายข​ องส​ ถติ ิน​ ัน​พาราเ​มตรกิ และ​สถิต​พิ ารา​เมตรกิ

       ในก​ าร​วิจัยโ​ดย​ทั่วไปน​ ิยม​เก็บ​ข้อมูลจ​ าก​กลุ่มต​ ัวอย่างจ​ ำ�นวน​หนึ่งเ​พื่อใ​ห้ไ​ด้​ค่า​สถิติ​ที่​จะใ​ช้ป​ ระมาณ​
ค่า​คุณลักษณะ​ของ​ประชากร ที่​เรียก​ว่า พารามิเตอร์ (parameter) ผลก​ าร​ศึกษา​ข้อมูล​จาก​กลุ่ม​ตัวอย่าง​
สามารถ​อ้างอิง​ไป​ยัง​พารามิเตอร์​ได้​โดย​การ​ทดสอบ​สมมติฐาน สถิติ​ที่​ใช้​ใน​การ​ทดสอบ​สมมติฐาน​เกี่ยว​กับ​
พารามิเตอร์ข​ องป​ ระชากร เรียกว​ ่า สถิติพ​ าราเ​มตริก (Parametric Statistics) เช่น การท​ ดสอบค​ ่าซ​ ี (Z-test)
การท​ ดสอบค​ ่าที (t-test) และก​ ารว​ ิเคราะห์ค​ วามแ​ ปรปรวน เป็นต้น สถิติพ​ าราเ​มตริกพ​ ัฒนาจ​ ากป​ ระชากรท​ ี่ม​ ​ี
รปู ร​ า่ งก​ ารแ​ จกแจงเ​ฉพาะ และส​ ่วนใ​หญม่​ กี​ ารแ​ จกแจงป​ กติ (normal distribution) จึงม​ เ​ี งือ่ นไขห​ รือข​ อ้ ต​ กลง
(assumption) ใน​เรื่อง​การ​แจกแจง​ของ​ประชากร และ​ถ้า​เป็นการ​ทดสอบ​ประชากร​หลาย​กลุ่ม​ก็​มี​เงื่อนไข​
ว่า​ประชากร​แต่ละ​กลุ่ม​ต้อง​มี​ความ​แปรปรวน​เท่า​กัน (equal or homogeneous population variance)
ดัง​นั้น การ​ใช้​สถิติ​พารา​เมตริก​จึง​มี​เงื่อนไข​หรือ​ข้อ​ตกลง​เกี่ยว​กับ​การ​แจกแจง​ของ​ประชากร และ​ความ​
แปรปรวนข​ องป​ ระชากร เชน่ ประชากรต​ อ้ งม​ ก​ี ารแ​ จกแจงป​ กติ และก​ รณม​ี ป​ี ระชากรห​ ลายก​ ลุม่ ความแ​ ปรปรวน​
ของ​ประชากรแ​ ต่ละ​กลุ่ม​ต้องเ​ท่าก​ ัน เป็นต้น แม้ว่า​สถิติ​ส่วน​ใหญ่จ​ ะ​แกร่ง (robust) พอที่จ​ ะ​ละเมิด​ข้อ​ตกลง​
เบื้องต​ ้นบ​ างข​ ้อ แต่ถ​ ้าเ​ราต​ รวจส​ อบพ​ บว​ ่าข​ ้อมูลล​ ะเมิดข​ ้อต​ กลงเ​บื้องต​ ้นแ​ ล้วเ​ราจ​ ะเ​ชื่อถ​ ือผ​ ลก​ ารท​ ดสอบห​ รือ​
ไม่ นอกจาก​สถิติ​พารา​เมตริก​แล้ว​ยัง​มี​สถิติ​อีก​ประเภท​หนึ่ง​ที่​สามารถ​ใช้​ทดสอบ​กรณี​ข้อมูล​ดัง​กล่าว​ได้ คือ
สถิติน​ ัน​พารา​เมตริก (Nonparametric Statistics)

       สถติ น​ิ นั พ​ าราเ​มตรกิ หรอื อ​ าจเ​รยี กช​ ือ่ อ​ ืน่ ว​ า่ สถติ น​ิ อนพ​ าราเ​มตรกิ หรอื ส​ ถติ ท​ิ ไี​่ รพ​้ ารามเิ ตอร​์ หมายถงึ
สถิติ​ที่​ใช้​ทดสอบ​สมมติฐาน​ที่​ไม่​ได้​ทดสอบ​ค่า​พารามิเตอร์​ของ​ประชากร เช่น การ​ทดสอบ​ว่า​กลุ่ม​ตัวอย่าง​
ที่​ได้​มา​จาก​ประชากร​นั้น​ได้​มา​อย่าง​สุ่ม​หรือ​ไม่ หรือ​การ​ทดสอบ​ว่า​ข้อมูล​จาก​กลุ่ม​ตัวอย่าง​จะ​สอดคล้อง​กับ​
รูป​แบบ​การ​แจกแจง​แบบ​ใด​แบบ​หนึ่ง​หรือ​ไม่ เป็นต้น ตัวอย่าง​ของ​สถิติ​นัน​พารา​เมตริก ได้แก่ การ​ทด​สอบ
ไ​ค​สแ​ ควร​ ์ (χ2- test) การท​ ดสอบ​ความ​สุ่ม (Run test) การ​ทดสอบ​เครื่องหมาย (Sign test) เป็นต้น นอก​
จาก​สถิติ​นัน​พารา​เมตริก​แล้ว มี​สถิติ​อีก​ประเภท​หนึ่ง​ซึ่ง​การ​ทดสอบ​ไม่​มุ่ง​ทดสอบ​รูป​แบบ​การ​แจกแจง​ของ​
ประชากรว​ ่าเ​ป็นโ​ค้งป​ กติห​ รือไ​ม่ แต่ท​ ดสอบเ​พียงว​ ่าการแ​ จกแจงข​ องป​ ระชากรเ​ป็นร​ ูปแ​ บบอ​ ย่างใ​ดอ​ ย่างห​ นึ่ง
จึงไ​ดช้​ ื่อว​ ่า สถิตทิ​ ีเ่​ป็นอ​ ิสระจ​ ากร​ ูปร​ ่างก​ ารแ​ จกแจง (Distribution-free Statistics) สถิตนิ​ ันพ​ าราเ​มตริกแ​ ละ​
สถติ ท​ิ เี​่ ปน็ อ​ สิ ระจ​ ากร​ ปู ร​ า่ งก​ ารแ​ จกแจงม​ ค​ี วามห​ มายแ​ ตกต​ า่ งก​ นั แตโ​่ ดยท​ ัว่ ไปม​ กั ใ​ชช​้ ือ่ ส​ ถติ ท​ิ ัง้ ส​ องแ​ ทนก​ นั ใ​น
ค​ วาม​หมายเ​ดียวกัน หรือใ​ช้​ชื่อ สถิติน​ ันพ​ ารามิเตอร์ โดย​รวม​สถิติ​ที่​เป็นอ​ ิสระ​จาก​รูป​ร่าง​การ​แจกแจง​ไว้​ด้วย
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20