Page 16 - การวิจัยและสถิติทางการศึกษา หน่วยที่ 13
P. 16

13-6 การวิจัยและสถิติทางการศึกษา

2. 	ความแ​ ตกต​ า่ ง​ระห​ วา่ งส​ ถติ ิ​นนั ​พาราเ​มตรกิ และ​สถิติพ​ ารา​เมตริก

       สถิติน​ ันพ​ ารา​เมตริกไ​ด้​รับก​ าร​พัฒนาข​ ึ้น​และม​ ีก​ ารนำ�​ไป​ใช้​อย่าง​กว้าง​ขวาง​เนื่องจากใ​ช้​ง่าย และไ​ม่มี​
ข้อต​ กลงเ​กี่ยวก​ ับก​ ารแ​ จกแจงข​ ้อมูลว​ ่าต​ ้องเ​ป็นโ​ค้งป​ กติ แตใ่​นก​ ารนำ�​ไปใ​ชก้​ ม็​ ขี​ ้อไ​ดเ้​ปรียบแ​ ละเ​สียเ​ปรียบเ​มื่อ​
เปรียบเ​ทียบ​กับส​ ถิติ​พารา​เมตริก ดังแ​ สดง​ใน​ตาราง​ที่ 13.1

                  ตารางท​ ี่ 13.1 เปรียบ​เทียบส​ ถติ ​พิ ารามิเตอร์ และส​ ถิต​นิ ันพ​ าราเ​มตรกิ

 ประเด็นเปรยี บเทียบ              สถติ ิพาราเมตรกิ            สถิตนิ ันพาราเมตรกิ
1. ขอ้ ตกลงเบื้องต้น
                           การแจกแจงของประชากรมรี ูปร่าง      การแจกแจงของประชากรไมจ่ ำ�เป็นต้อง
2. ระดับการวดั ของขอ้ มลู  การแจกแจงเฉพาะ ซ่งึ ส่วนใหญ่       เปน็ การแจกแจงแบบปกติ
                           มีการแจกแจงแบบปกติ
3. ขนาดกลุ่มตัวอยา่ ง                                         ข้อมูลวดั ระดบั ใดกไ็ ด้ ทง้ั นามบัญญัติ
4. การค�ำ นวณค่า           ขอ้ มลู วดั ในระดบั อนั ตรภาคหรือ  จัดอนั ดับ อันตรภาค และอตั ราส่วน
5. อำ�นาจการทดสอบ          อตั ราสว่ น                        ขนาดเลก็ หรอื ขนาดใหญ่กไ็ ด้
                                                              ง่าย ไม่ซับซ้อน
                           ขนาดใหญ่

                           ค่อนข้างซับซ้อน

                           ถา้ ขอ้ มูลเปน็ ไปตามข้อตกลงเบือ้ งต้น ถา้ ขอ้ มูลเป็นไปตามข้อตกลงเบื้องตน้

                           ของการทดสอบพาราเมตรกิ การทดสอบ ของการทดสอบนนั พาราเมตริก

                           โดยสถิตพิ าราเมตรกิ ใหอ้ �ำ นาจ    การทดสอบจะใหอ้ ำ�นาจการทดสอบ

                           การทดสอบสูงกว่าสถติ นิ ันพาราเมตริก สูงกว่าสถิตพิ าราเมตรกิ

3. 	จุดเ​ด่น​และจ​ ุดด​ ้อยข​ อง​สถติ นิ​ นั ​พารา​เมตริก

       จาก​ความ​แตก​ต่าง​ของ​สถิติ​นัน​พารา​เมตริก​และ​สถิติ​พารา​เมตริก สามารถ​สรุป​จุด​เด่น​และ​จุด​ด้อย​
ของส​ ถิติ​นันพ​ ารา​เมตริก​ได้ ดังนี้

       3.1 	จุดเ​ดน่ ​ของ​สถติ ​นิ ันพ​ ารา​เมตรกิ
            3.1.1 	ในก​ รณี​กลุ่ม​ตัวอย่างข​ นาดเ​ล็ก และไ​ม่ท​ ราบก​ ารแ​ จกแจงข​ องป​ ระชากร ไม่​สามารถ​ใช้​

สถิติ​พารา​เมตริก​ได้ ดัง​นั้น การ​ใช้​สถิติ​นัน​พารา​เมตริก​จึง​มี​ความ​เหมาะ​สม เช่น ทดสอบ​ผล​ของ​นวัตกรรม​
เมื่อท​ ดลองใ​ช้​กับก​ ลุ่มต​ ัวอย่างน​ ักเรียน​ใน​โรงเรียน​ขนาดเ​ล็ก​ทุกค​ น โดยไ​ม่มีก​ าร​สุ่ม​กลุ่มต​ ัวอย่าง

            3.1.2 	สถติ น​ิ นั พ​ าราเ​มตรกิ ส​ ามารถใ​ชไ้ ดก้​ บั ข​ อ้ มลู ท​ กุ ป​ ระเภท ไมว่​ า่ จ​ ะว​ ดั ใ​นร​ ะดบั น​ ามบ​ ญั ญตั ิ
จัด​อันดับ อันตรภาค หรือ​อัตราส่วน ซึ่ง​ใน​กรณี​ข้อมูล​วัด​ใน​ระดับ​นาม​บัญญัติ หรือ​จัด​อันดับ ไม่​สามารถ​
วิเคราะห์โ​ดยใ​ช้​สถิติ​พารา​เมตริกไ​ด้ เช่น ผล​การ​ประเมินพ​ ฤติกรรม​ที่​แบ่งเ​ป็น 3 ระดับ ได้แก่ ทำ�​เป็นป​ ระจำ�
ทำ�​เป็นบ​ างค​ รั้ง และ​ไม่ค​ ่อยไ​ด้ท​ ำ� เป็นการ​วัด​ในร​ ะดับ​จัด​อันดับ ควรว​ ิเคราะห์​โดยใ​ช้ส​ ถิติ​นัน​พารา​เมตริก
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21