Page 75 - การวิจัยและสถิติทางการศึกษา หน่วยที่ 13
P. 75
สถิตนิ นั พาราเมตรกิ 13-65
จากตารางที่ 13.19 พบว่าเพศและความพึงพอใจในการปฏิบัติงานมีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัย
สำ�คัญทางส ถิติที่ร ะดับ .000 ซึ่งน ้อยกว่าร ะดับน ัยสำ�คัญท ี่ต ั้งไว้ คือ α = .05 ดังนั้น จึงสรุปว่าป ฏิเสธ H0
ดังน ั้น เพศและความพ ึงพอใจของน ักบ ริหารม ีค วามสัมพันธ์ก ันอ ย่างมีนัยสำ�คัญท ี่ระดับ .05
หลังจากศกึ ษาเน้ือหาสาระเรื่องที่ 13.3.1 แลว้ โปรดปฏบิ ัติกิจกรรม 13.3.1
ในแ นวการศกึ ษาหนว่ ยที่ 13 ตอนท ่ี 13.3 เรือ่ งท ี่ 13.3.1
เรื่องที่ 13.3.2 การวิเคราะห์ค วามสมั พันธข์ องขอ้ มูลส องก ลุ่ม
ที่วดั ในระดับจัดอ นั ดับ
การวัดความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลสองกลุ่ม และข้อมูลวัดในระดับจัดอันดับ เช่น การจัดอันดับ
โครงการท ปี่ ระสบค วามส �ำ เรจ็ ข องก รรมการ 2 คน หรอื จ ดั อ นั ดบั ผ ลง านข องน กั เรยี นโดยค รู 2 คน การวเิ คราะห์
ความสัมพันธ์ของข้อมูลดังกล่าวใช้การวิเคราะห์สัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์แบบจัดอันดับของสเปียร์แมน
(Spearman Rank Correlation Coefficient (rs) หรอื บ างค รัง้ เรยี กว า่ สเปยี ร แ์ มน โร (Spearman’s Rho; ρ)
1. ลกั ษณะข องก ารวิเคราะหค์ วามสัมพนั ธ์
วิธกี ารว ิเคราะหส์ ัมประสิทธิส์ หส ัมพันธแ์ บบจ ัดอ ันด ับข องส เปียร แ์ มน ใชว้ ิเคราะหค์ วามส ัมพันธข์ อง
ข้อมูลสองกลุ่มที่จัดอยู่ในลักษณะลำ�ดับที่ เพื่อหาความสัมพันธ์ของข้อมูลสองกลุ่ม และใช้ในกรณีข้อมูลมี
ขนาดเล็ก (น้อยก ว่า 30)
2. การต ั้งสมมตฐิ าน
สมมติฐานอ าจตั้งแ บบท างเดียวห รือส องทางก ็ได้
2.1 สมมตฐิ านแบบส องทาง ใช้ในก รณีไม่แน่ใจว ่าค วามส ัมพันธ์ของตัวแปร 2 ตัวจ ะมีทิศทางใด
2.2 สHHมม10::ตρρิฐา=≠นแ00บ((บขข้อท้อมมางูลูลเด22ียวกกลลุ่มุ่มไสมัม่สพัมันพธัน์ก ธัน์ก)ัน)
2.2.1 ถ้าค าดว่าค วามส ัมพันธ์ข องตัวแปร 2 ตัว เป็นไปได้ในทางเดียวกัน
H0: ρ = 0, H1 : ρ > 0
2.2.2 ถ้าคาดว ่าความส ัมพันธ์ของต ัวแปร 2 ตัว เป็นไปในท ิศทางต รงกันข ้าม
H0: ρ = 0, H1: ρ < 0