Page 81 - การวิจัยและสถิติทางการศึกษา หน่วยที่ 6
P. 81

การส​ ร้าง​เครื่องม​ ือว​ ัดด​ ้าน​พุทธิพ​ ิสัย 6-71

                 วิธกี​ ารต​ รวจส​ อบค​ วามต​ รงเ​ชิงท​ ฤษฎหี​ รือโ​ครงสร้างค​ ือ การศ​ ึกษาค​ วามส​ ัมพันธร์​ ะหว่าง​
ผล​การ​วัด​ที่​ได้​จาก​เครื่อง​มือ​กับ​โครงสร้าง​และ​คำ�​ทำ�นาย​ทาง​ทฤษฎี​ของ​ลักษณะ​ที่​มุ่ง​วัด วิธี​การ​ที่​สามารถ​ใช้​
ตรวจส​ อบค​ วามต​ รงเ​ชงิ ท​ ฤษฎห​ี รอื โ​ครงสรา้ งม​ ห​ี ลายว​ ธิ ี แตว​่ ธิ ท​ี นี​่ ยิ มใ​ช้ คอื การว​ เิ คราะหอ​์ งคป​์ ระกอบ (factor
analysis) ซึ่ง​เป็น​เทคนิค​ทาง​สถิติ​สำ�หรับ​วิเคราะห์​ความ​สัมพันธ์​ระหว่าง​ตัวแปร​ที่​สังเกต​ได้​เพื่อ​หา​ลักษณะ​
ร่วม​กัน​ของ​ชุด​ตัวแปร​เหล่า​นั้น ลักษณะ​ร่วม​กัน​นี้​เรียก​ว่า ตัวประกอบ (factor) ตัวประกอบ​เป็น​ลักษณะ​ที่​
คาด​ว่า​มีอ​ ิทธิพล​ต่อค​ ะแนนท​ ี่​ได้จ​ ากก​ ลุ่ม​ตัวแปร หรือล​ ักษณะ​ที่​ใช้​อธิบายค​ วาม​ผันแปร​ร่วม​ของ​กลุ่มต​ ัวแปร
การ​วิเคราะห์​องค์​ประกอบ​มีจ​ ุดม​ ุ่งห​ มาย 2 ประการ คือ

                 1. 	การว​ เิ คราะหอ​์ งคป​์ ระกอบเ​ชงิ ส​ �ำ รวจ มว​ี ตั ถปุ ระสงคเ​์ พือ่ ส​ �ำ รวจแ​ ละร​ ะบอ​ุ งคป​์ ระกอบ​
ร่วมท​ ีส่​ ามารถอ​ ธิบายค​ วามส​ ัมพันธร์​ ะหว่างต​ ัวแปรส​ ังเกตไ​ด้ ผลท​ ีไ่​ดค้​ ือ ลดจ​ ำ�นวนต​ ัวแปรส​ ังเกตไ​ดโ้​ดยส​ ร้าง​
เป็น​ตัวแปรใ​หม่ใ​น​รูป​ของ​องค์ป​ ระกอบ​ร่วม

                 2. 	การว​ ิเคราะหอ์​ งคป์​ ระกอบเ​ชิงย​ ืนยัน เป็นการศ​ ึกษาท​ ฤษฎแี​ ละง​ านว​ ิจัยท​ ีเ่​กี่ยวข้องว​ ่า​
คุณลักษณะท​ ี่ผ​ ู้ว​ ิจัยต​ ้องการศ​ ึกษาม​ ีอ​ งค์ป​ ระกอบอ​ ะไรบ​ ้าง องค์ป​ ระก​ อบ​ นั้นๆ วัดไ​ด้ด​ ้วยต​ ัวแปรส​ ังเกตอ​ ะไร​
บ้าง และส​ อดคล้อง​กับท​ ฤษฎีห​ รือ​โครงสร้าง​ที่ก​ ำ�หนดไ​ว้​หรือ​ไม่

                 การห​ าความต​ รงเ​ชิงท​ ฤษฎหี​ รือโ​ครงสร้างด​ ้วยก​ ารว​ ิเคราะห์อ​ งคป์​ ระกอบเ​ป็นว​ ิธกี​ ารท​ าง​
สถิติ​ขั้นส​ ูง การว​ ิเคราะห์อ​ งค์​ประกอบ​เชิงส​ ำ�รวจ จะ​วิเคราะห์​ข้อมูลด​ ้วยโ​ปรแกรม SPSS ส่วนก​ าร​วิเคราะห​์
องค์ป​ ระกอบเ​ชิงย​ ืนยัน จะว​ ิเคราะห์ข​ ้อมูลด​ ้วยโ​ปรแกรม LISREL ซึ่งเ​ป็นว​ ิธีท​ ี่น​ ิยมใ​ช้ใ​นก​ ารห​ าความต​ รงเ​ชิง​
ทฤษฎี​หรือโ​ครงสร้างส​ ำ�หรับแ​ บบ​วัด​ความ​สามารถ​ใน​การ​คิด

                ดัง​ตัวอย่าง​งาน​วิจัย​ของ​ปรียา​นุช นิยม​ชาติ (2551) ได้​พัฒนา​แบบ​วัด​ความ​สามารถ​ใน​
การ​คิด​อย่าง​มี​วิจารณญาณ สำ�หรับ​นักเรียน​ชั้นมัธยมศึกษา​ปี​ที่ 3 ใน​โรงเรียน​สังกัด​สำ�นักงาน​เขต​พื้นที่​การ​
ศึกษา​จันทบุรี เขต 2 ที่ม​ ีก​ ารห​ าความต​ รงเ​ชิง​โครงสร้าง​ด้วยก​ ารว​ ิเคราะห์อ​ งค์ป​ ระกอบ​เชิง​ยืนยันข​ อง​แบบว​ ัด​
ความส​ ามารถใ​นก​ ารค​ ิดอ​ ยา่ งม​ ว​ี จิ ารณญาณด​ ว้ ยโ​ปรแกรม LISREL พบ​ว่า โมเดลม​ ค​ี วามส​ อดคล้องก​ บั ข​ อ้ มลู ​
เชิง​ประจักษ์ และ​ค่านํ้าหนัก​องค์​ประกอบ​ใน​ความ​สามารถ​แต่ละ​ด้าน​พบ​ว่า​ความสามารถ​ใน​การ​คิด​อย่าง​มี​
วิจารณญาณ​ทั้ง 6 ด้าน มี​นํ้าหนัก​องค์ป​ ระกอบ​ที่​มี​นัย​สำ�คัญ​ทาง​สถิติท​ ี่ร​ ะดับ .05

                 2.2.2	 การต​ รวจส​ อบค​ วามเ​ทย่ี ง หมายถ​ งึ ค​ วามค​ งเ​สน้ ค​ งว​ าข​ องผ​ ลก​ ารว​ ดั ไมว​่ า่ จ​ ะท​ �ำ การ​
วัดเ​มื่อใ​ดก​ ็ตาม สามารถต​ รวจส​ อบไ​ดห้​ ลายวิธี ถ้าเ​ป็นแ​ บบท​ ดสอบจ​ ะใ​ชว้​ ิธวี​ ิธขี​ องค​ เู​ดอ​ ร์–รชิ​ าร์ดส​ ัน (Kuder-
Richardson) ซึ่งเ​ป็นการห​ าความเ​ที่ยง​ที่ค​ ู​เด​อร์และร​ ิ​ชาร์ด​สันไ​ด้เ​สนอไ​ว้ และ​ที่​นิยม​ใช้ม​ ี 2 สูตร คือ KR-20
หรือ KR-21 วิธี​นี้​นิยม​ใช้​กับแ​ บบท​ ดสอบท​ ี่​มีก​ ารใ​ห้ค​ ะแนนแ​ บบ 0 กับ 1 คือ ตอบ​ถูก​ให้ 1 ตอบ​ผิดใ​ห้ 0

                 ส�ำ หรบั ส​ ตู รแ​ ละต​ วั อยา่ งใ​นก​ ารค​ �ำ นวณก​ ารห​ าความเ​ทีย่ งโ​ดยใ​ชส​้ ตู ร KR-20 หรอื KR-21
นักศึกษาส​ ามารถศ​ ึกษา​ได้จ​ าก​ตอน​ที่ 2 เรื่อง​ที่ 6.2.4

             หลังจ​ ากศ​ ึกษา​เนื้อหา​สาระ​เรื่อง​ที่ 6.3.3 แล้ว โปรดป​ ฏิบัติก​ ิจกรรม 6.3.3
                      ในแ​ นวก​ าร​ศึกษาห​ น่วย​ที่ 6 ตอน​ที่ 6.3 เรื่องท​ ี่ 6.3.3
   76   77   78   79   80   81   82   83   84