Page 80 - การวิจัยและสถิติทางการศึกษา หน่วยที่ 6
P. 80

6-70 การวิจัยและสถิติทางการศึกษา

                 ค่า​อำ�นาจ​จำ�แนก​มี​ค่า​ตั้งแต่ —1.0 ถึง +1.0 ถ้า​ข้อสอบ​ข้อ​ใด​มี​ค่า​อำ�นาจ​จำ�แนก​เป็น 0
หมายความว​ า่ คนเ​กง่ ก​ บั ค​ นไ​มเ​่ กง่ ต​ อบถ​ กู เ​ทา่ ก​ นั ขอ้ น​ ัน้ ไ​มม่ อ​ี �ำ นาจจ​ �ำ แนก กลา่ วค​ อื ขอ้ สอบข​ อ้ น​ ัน้ ไ​มส​่ ามารถ​
แยกค​ นเ​ก่งก​ ับค​ นไ​มเ่​ก่งอ​ อกจ​ ากก​ ันไ​ด้ ถ้าค​ ่าอ​ ำ�นาจจ​ ำ�แนกต​ ิดลบ หมายความว​ ่า คนไ​มเ่​ก่งท​ ำ�​ถูกม​ ากกว่าค​ น​
เก่ง กล่าว​คือ คนเ​ก่งจ​ ะท​ ำ�​ข้อ​นั้น​ผิด ส่วน​คนไ​ม่​เก่ง​จะ​ทำ�​ข้อน​ ั้นถ​ ูก ถ้าค​ ่าอ​ ำ�นาจจ​ ำ�แนกเ​ป็นบ​ วก หมายความ​
ว่า คน​เก่ง​ทำ�​ถูก​มากกว่า​คนไ​ม่​เก่ง และย​ ิ่ง​มี​ค่าตัว​เลข​มาก ก็ย​ ิ่งแ​ ยกค​ น​เก่งอ​ อก​จากค​ น​ไม่เ​ก่ง​ได้​มากเ​ท่านั้น
สำ�หรับ​ค่าอ​ ำ�นาจจ​ ำ�แนก​มี​ค่าต​ ั้งแต่ 0.20 ขึ้น​ไป

                สำ�หรับส​ ูตรแ​ ละต​ ัวอย่างใ​นก​ ารค​ ำ�นวณก​ ารห​ าค​ ่าอ​ ำ�นาจจ​ ำ�แนก นักศึกษาส​ ามารถศ​ ึกษา​
ได้จ​ ากต​ อน​ที่ 2 เรื่องท​ ี่ 6.2.4

            2.2 	วเิ คราะห์​คณุ ภาพ​ท้ัง​ฉบบั ของ​แบบ​วัด​ความ​สามารถ​ใน​การ​คิด เป็นการ​ตรวจ​สอบ​ความ​
ตรง และ​ความเ​ที่ยง ดังร​ ายล​ ะเอียดต​ ่อ​ไปน​ ี้

                 2.2.1	 การต​ รวจส​ อบค​ วามต​ รง หมายถ​ ึงค​ วามส​ ามารถ​ในก​ ารว​ ัดส​ ิ่งท​ ี่ต​ ้องการจ​ ะว​ ัด การ​
ตรวจ​สอบค​ วาม​ตรงส​ ามารถต​ รวจส​ อบ​ได้​หลาย​วิธี ดังร​ าย​ละเอียด​ต่อไ​ป​นี้

                     1) 	ความ​ตรง​เชิง​เนื้อหา (content validity) เป็นการ​พิจารณา​ว่า​ข้อ​คำ�ถาม​เป็น​
ตัวแทน​ของ​เน้ือหาท​ ัง้ หมดท​ ตี่​ ้องการ​จะ​วัด​ไดห​้ รือ​ไม​่เพียงใ​ด หรอื เ​ป็นการ​พจิ ารณา​วา่ ข​ อ้ ค​ �ำ ถามแ​ ต่ละข​ อ้ ถาม​
ตรง​ตาม​เน้ือหา​และ​พฤติกรรม​ท่ี​ต้องการ​ให้​วัด​หรือ​ไม่ โดย​อาศัย​ทักษะ​และ​ประสบการณ์​ของ​ผู้​เชี่ยวชาญ​ด้าน​
เน้อื หา พจิ ารณาจ​ ากค​ วามส​ อดคลอ้ งก​ ับจ​ ุดป​ ระสงคเ​์ ชิงก​ ารเ​รียนร​ ู้ (Index of Item-Objective Congruence:
IOC) ค่า IOC มี​คา่ ​เทา่ กับ​หรือ​มากกวา่ 0.5 แสดง​ว่า​ข้อ​ค�ำ ถามว​ ดั ​จุด​ประสงค​ก์ ารเ​รยี น​รู้

                     สำ�หรับ​สูตร​และ​ตัวอย่าง​ใน​การ​คำ�นวณ​การ​หาความ​ตรง​เนื้อหา นักศึกษา​สามารถ​
ศกึ ษาไ​ด้​จาก​ตอนท​ ่ี 2 เรื่องท​ ี่ 6.2.4

                     2) 	ความ​ตรง​เชิง​เกณฑ์​สัมพันธ์ เป็น​ความ​สามารถ​ใน​การ​วัด​ลักษณะ​ที่​สนใจ​ได้​
สอดคล้องก​ ับ​เกณฑ์ภ​ ายนอก โดย​แยกไ​ดเ้​ป็น 2 ชนดิ คือ

                          2.1)	 ความ​ตรง​ตาม​สภาพ (concurrent validity) เป็น​ความ​สามารถ​ใน​
การ​วัด​ลักษณะ​ที่​สนใจ​ได้​ตรง​ตาม​สมรรถนะ​ของ​สิ่ง​นั้น​ใน​สภาพ​ปัจจุบัน โดย​การ​คำ�นวณ​ค่า​สัมประสิทธิ์​
สห​สัมพันธ์​ระหว่าง​คะแนน​ที่​วัด​ได้จ​ าก​เครื่อง​มือ กับ​คะแน​นที่​วัด​ได้จ​ าก​เครื่อง​มือ​มาตรฐาน​อื่น​ที่​สามารถ​วัด​
สิ่งน​ ั้นไ​ด้​ใน​สภาพป​ ัจจุบัน

                          2.2)	 ความ​ตรง​เชิง​ทำ�นาย (predictive validity) เป็น​ความ​สามารถ​ใน​
การ​วัด​ลักษณะ​ที่​สนใจ​ได้​ตรง​ตาม​สมรรถนะ​ของ​สิ่ง​นั้น​ที่​จะ​เกิด​ขึ้น​ใน​อนาคต โดย​คำ�นวณ​ค่า​สัมประสิทธิ์​
สหส​ ัมพันธ์ร​ ะหว่างค​ ะแนนท​ ี่ว​ ัดไ​ด้จ​ ากเ​ครื่องม​ ือก​ ับค​ ะแนนท​ ี่ว​ ัดไ​ด้จ​ ากเ​ครื่องม​ ือม​ าตรฐานอ​ ื่น ซึ่งส​ ามารถว​ ัด​
สิ่งน​ ั้นไ​ด้​ใน​เวลาต​ ่อม​ า​หรือ​ในอ​ นาคต

                     3) 	ความ​ตรง​เชิงท​ ฤษฎห​ี รอื โ​ครงสรา้ ง (construct validity) เป็น​ความส​ ามารถใ​น​
การว​ ดั ไ​ดต​้ รงต​ ามล​ กั ษณะท​ ม​ี่ งุ่ ว​ ดั โดยผ​ ลก​ ารว​ ดั ม​ ค​ี วามส​ อดคลอ้ งก​ บั โ​ครงสรา้ งห​ รอื ค​ วามห​ มายท​ างท​ ฤษฎข​ี อง​
ลกั ษณะท​ ​่ีมงุ่ ​วดั น​ ั้น
   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84