Page 79 - การวิจัยและสถิติทางการศึกษา หน่วยที่ 6
P. 79

การ​สร้าง​เครื่องม​ ือว​ ัดด​ ้านพ​ ุทธิพ​ ิสัย 6-69

เรอื่ งท​ ่ี 6.3.3 	การต​ รวจ​สอบ​คุณภาพ​แบบว​ ดั ค​ วามส​ ามารถ​ในก​ ารค​ ิด

       การต​ รวจส​ อบค​ ุณภาพแ​ บบว​ ัดค​ วามส​ ามารถใ​นก​ ารค​ ิดเ​ป็นการต​ รวจส​ อบค​ ุณภาพข​ องเ​ครื่องม​ ือท​ ีจ่​ ะ​
ใช้ใ​น​การ​วัด​และ​ประเมินผ​ ล ถ้าแ​ บบ​วัดค​ วาม​สามารถ​ใน​การ​คิดเ​ป็นแ​ บบ​วัด​หรือ​แบบท​ ดสอบ การ​ตรวจ​สอบ​
คุณภาพเ​ครื่องม​ ือจ​ ะม​ ีว​ ิธีต​ รวจส​ อบค​ ล้ายก​ ับก​ ารต​ รวจส​ อบค​ ุณภาพแ​ บบท​ ดสอบว​ ัดผลส​ ัมฤทธิ์ท​ างการเ​รียน
แต่​ถ้า​เป็นการ​วัดแ​ ละป​ ระเมินต​ ามก​ าร​ปฏิบัติจ​ ริง ซึ่ง​ใช้แ​ บบ​สัมภาษณ์ แบบส​ ังเกต หรือ​แบบบ​ ันทึก​การ​ตรวจ​
ผลง​ าน นักศึกษา​สามารถ​ศึกษาก​ าร​ตรวจส​ อบ​คุณภาพ​เครื่อง​มือใ​น​ส่วน​นี้ไ​ด้​ใน​หน่วยท​ ี่ 8

       การต​ รวจส​ อบค​ ุณภาพ​แบบว​ ัดค​ วาม​สามารถ​ใน​การ​คิด ควรด​ ำ�เนิน​การ​ใน​ประเด็นต่อ​ไป​นี้
       1. 	 ตรวจส​ อบค​ ณุ ภาพโ​ดยก​ าร​ พจ​ิ าณาค​ วามเ​หมาะส​ ม เปน็ การต​ รวจส​ อบข​ ั้นพ​ ื้นฐ​ านโ​ดยใ​ชด​้ ุลยพนิ ิจ​
พิจารณา​ตาม​ความเ​หมาะ​สมถ​ ูกต​ ้อง​ตามห​ ลัก​การใ​น​ประเด็น ต่อไ​ปน​ ี้ 1) ตรวจ​สอบค​ วาม​ตรงต​ ามพ​ ฤติกรรม​
กับ​เนื้อหาท​ ี่​ต้องการว​ ัด 2) ตรวจ​สอบค​ วาม​ถูก​ต้องต​ าม​หลัก​วิชา 3) ตรวจ​สอบ​ความ​เป็น​ปรนัย​ของ​ข้อ​คำ�ถาม
4) ตรวจ​สอบ​ความ​สำ�คัญ​หรือ​คุณค่า​ของ​ข้อ​คำ�ถาม 5) ตรวจ​สอบ​ความ​เหมาะ​สม​ของ​เวลา​และ​ระดับ​ของ​
ผู้​เรียน
       2. 	 ตรวจส​ อบค​ ณุ ภาพโ​ดยก​ ารท​ ดลองใ​ช้ เป็นการน​ ำ�​แบบท​ ดสอบท​ ี่จ​ ะด​ ำ�เนินก​ ารว​ ัดแ​ ละป​ ระเมินผ​ ล​
ไปใ​ชก​้ บั ก​ ลุม่ เ​ปา้ ห​ มายท​ มี​่ ล​ี กั ษณะใ​กลเ​้ คยี งก​ บั ก​ ลุม่ ต​ วั อยา่ งท​ จี​่ ะเ​กบ็ ข​ อ้ มลู จ​ รงิ เพือ่ น​ �ำ ​ผลม​ าว​ เิ คราะหค​์ ณุ ภาพ​
ของ​เครื่อง​มือ​ก่อนน​ ำ�​ไปใ​ช้จ​ ริง สามารถ​ตรวจส​ อบไ​ด้ ดังนี้

            2.1 	วเิ คราะห์ค​ ณุ ภาพ​ราย​ขอ้ ของแ​ บบท​ ดสอบ​ที่ต​ ้อง​ดำ�เนิน​การ​คือ การห​ าค​ ่าค​ วาม​ยาก และ​
ค่า​อำ�นาจจ​ ำ�แนก ดัง​ราย​ละเอียด​ต่อไ​ปน​ ี้

                2.1.1	 การ​หา​ค่า​ความ​ยาก หมาย​ถึง สัดส่วน​หรือ​เปอร์เซ็นต์​ของ​ผู้​สอบ​ที่​ตอบ​แต่ละ​ข้อ​
คำ�ถาม​ถูก สัญลักษณ์ท​ ี่ใ​ช้​แทน​ค่าค​ วาม​ยาก คือ “p”

                ค่า​ความย​ าก​มี​ค่าร​ ะหว่าง 0 ถึง 1 (ถ้าแ​ ปลงส​ ัดส่วนเ​ป็น 100 ก็ม​ ี​ค่าร​ ะหว่าง 1-100) ถ้า​
มีค​ ่า 0 แสดงว​ ่าไ​ม่มีผ​ ู้ใ​ดต​ อบข​ ้อน​ ั้นถ​ ูกเ​ลย หมายความ​ว่า ข้อน​ ั้นย​ ากท​ ี่สุด ถ้าม​ ีค​ ่า 1 แสดงว​ ่าผ​ ู้ส​ อบท​ ำ�​ข้อน​ ั้น​
ถูกห​ มดท​ ุกค​ น หมายความ​ว่าข​ ้อ​นั้น​ง่าย​ที่สุด เพราะ​ฉะนั้นข​ ้อ​คำ�ถามใ​ด​ที่ม​ ีผ​ ู้ต​ อบถ​ ูกน​ ้อย แสดง​ว่า​ข้อ​คำ�ถาม​
นั้นย​ าก และ​ถ้า​ข้อ​คำ�ถามใ​ด​มีผ​ ู้ต​ อบ​ถูก​มาก แสดง​ว่าข​ ้อค​ ำ�ถามน​ ั้นง​ ่าย การ​พิจารณาค​ ่า​ความย​ าก​ที่เ​หมาะส​ ม
กำ�หนดว​ ่า​ควร​มีค​ ่า​ระหว่าง 0.2-0.8

                สำ�หรับ​สูตร​และ​ตัวอย่าง​ใน​การ​คำ�นวณ​การ​หา​ค่า​ความ​ยาก นักศึกษา​สามารถ​ศึกษา​ได้​
จากต​ อน​ที่ 2 เรื่อง​ที่ 6.2.4

                2.1.2	 การห​ าค​ า่ อ​ �ำ นาจจ​ �ำ แนก หมายถ​ ึง ความส​ ามารถข​ องข​ ้อสอบท​ ีจ่​ ะจ​ ำ�แนกใ​หเ้​ห็นถ​ ึง​
ความ​แตก​ต่าง​ระหว่างบ​ ุคคล เช่น จำ�แนกค​ น​เก่ง​กับ​คน​ไม่​เก่ง​ออก​จาก​กัน จำ�แนกค​ น​ที่​มี​ความ​ถนัด​ต่าง​กัน​
ออกจ​ าก​กัน โดย​ยึด​หลัก​การ​ว่าค​ นเ​ก่ง​จะต​ ้อง​ทำ�​ข้อสอบข​ ้อ​นั้นถ​ ูก คนไ​ม่เ​ก่ง​ต้องท​ ำ�​ผิด สัญลักษณ์ท​ ี่​ใช้แ​ ทน​
ค่า​อำ�นาจจ​ ำ�แนก คือ “r”
   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84