Page 100 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้คณิตศาสตร์
P. 100
6-90 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้คณิตศาสตร์
ลักษณะของธนบัตร
เนื่องจากธ นบัตรต ่างช นิดก ันจ ะม ีส ีต ่างก ัน ซึ่งเป็นล ักษณะท ี่น ักเรียนส ามารถส ังเกตได้ง ่าย นักเรียน
จึงสามารถมองเห็นความแตกต่างได้ง่าย กิจกรรมการสอนลักษณะของธนบัตรสามารถทำ�ได้เช่นเดียวกัน
กับกิจกรรมก ารสอนลักษณะของเหรียญ แต่เนื่องจากธนบัตรเป็นสิ่งที่ม ีค ่าสูง ครูอาจด ัดแปลงโดยไม่ใช้ก าร
แบ่งกลุ่ม แต่ใช้การสังเกตและสัมผัสภายใต้สภาพการณ์ที่ครูสามารถควบคุมได้อย่างใกล้ชิด เช่น เรียก
นักเรียนออกม าสังเกตและส ัมผัสแ ล้วอธิบายให้เพื่อนๆ ฟัง หลังจากนั้นอาจให้น ักเรียนอ อกม าท ีล ะก ลุ่มเพื่อ
สังเกตแ ละส ัมผัสธ นบัตรจริง
ค่าของเงนิ และก ารเปรียบเทยี บค่าข องเงิน
เมื่อนักเรียนศึกษาลักษณะของเงิน นักเรียนจะเรียนรู้ค่าของเงินไปด้วยในตัวบ้างแล้วจากตัวเลข
ที่ระบุอยู่บนเงินน ั้น แต่ย ังไม่เพียงพอ นักเรียนควรได้ร ับป ระสบการณ์เกี่ยวก ับค่าของเงินให้ล ึกซ ึ้งข ึ้นไปอีก
โดยผ่านทางกิจกรรมต่างๆ ในการจัดการเรียนการสอนควรให้ผู้เรียนได้ศึกษาและเปรียบเทียบค่าของเงิน
เฉพาะอย่างก ่อน โดยจะศ ึกษาและเปรียบเทียบค ่าข องเงินเหรียญหรือค ่าข องธนบัตรก ่อนก ็ได้ แล้งจ ึงศึกษา
และเปรียบเทียบค่าของเงินที่ประกอบด้วยทั้งเงินเหรียญและธนบัตร ในการเปรียบเทียบควรให้ครอบคลุม
แนวคิดของการเปรียบเทียบท ั้งส ามอ ย่างค ือ เท่ากัน มากกว่ากันและน ้อยกว่ากัน อุปกรณ์ก ารส อนท ี่ดีท ี่สุด
ในก ารส อนเรื่องน ี้ค ือ เหรียญจ ำ�ลองแ ละธ นบัตรจ ำ�ลอง เหรียญจ ำ�ลองท ำ�ไดโ้ดยน ำ�ก ระดาษท าบล งบ นเหรียญ
(ควรใช้ด ้านที่เป็นตัวเลข) แล้วใช้ด ินสอฝ นจ นเต็มพื้นที่ก ็จะได้รูปที่อยู่บ นเหรียญป รากฏบ นกระดาษ แล้วใช้
กรรไกรตัดตามขอบก็จะได้เหรียญตามต้องการ ส่วนธนบัตรจำ�ลองก็อาจใช้แผ่นกระดาษที่มีสีใกล้เคียงกับ
สีข องธ นบัตรจ ริงแ ละม ีข นาดเท่ากับธ นบัตรจ ริงแ ล้วเขียนต ัวเลขก ำ�กับ หรืออ าจใช้เพียงก ระดาษข าวธ รรมดา
แล้วใช้แต่เพียงตัวเลขก ำ�กับอย่างเดียวโดยไม่ต้องใช้สีก ็ได้ นอกจากนี้ยังสามารถ down load เหรียญห รือ
ธนบัตรจ ำ�ล องจ ากเว็บไซต์ม าใช้เป็นส ื่อการเรียนก ารสอนได้อ ีก
ตัวอย่างข องก ิจกรรมก ารส อนค ่าข องเงินเท่าก ัน ได้แก่ ครกู ำ�หนดเงินใหจ้ ำ�นวนห นึ่ง ใหน้ ักเรียนแ ลก
เงินซ ึ่งก ันแ ละก ันห ลายๆ ครั้ง โดยใช้เงินเหรียญห รือธ นบัตรท ั้งส องอ ย่างในร ูปแ บบต ่างๆ กัน เช่น บางค นอ าจ
ใช้ธ นบัตรใบล ะ 20 บาท กับเงินเหรียญห ้าบาท บางค นอ าจใช้เหรียญบาท 25 อัน เป็นต้น
ตัวอย่างก ิจกรรมการสอนค ่าของเงินมากกว่ากัน น้อยกว่าก ัน เช่น ครูส ่งเงินให้นักเรียน 2 คน ให้
นกั เรียนน ับ แลว้ บ อกว า่ ใครไดเ้งินม ากกว่าใคร หรือค รอู าจใชว้ ธิ สี ง่ เงนิ ใหค้ นเดียวกนั ส องค รัง้ แ ล้วใหต้ ดั สินใจ
ว่าจ ะเลือกร ับเงินท ี่ส ่งให้ค รั้งแ รกห รือค รั้งท ี่ส อง เพราะเหตุใด ในก รณีน ีน้ ักเรียนจ ะต ัดสินใจก ็ต ่อเมื่อน ักเรียน
นับเงิน ที่ได้รับทั้งสองครั้งแล้วซึ่งนักเรียนอาจจ ะเลือกร ับครั้งท ี่ได้เงินมากกว่าหรือน ้อยก ว่าก ็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอ ยู่
กับเหตุผลของนักเรียน
การใชแ้ ละการทอนเงิน
การสอนการใช้แ ละก ารทอนเงินเป็นการนำ�ค วามร ู้เรื่องเงินไปใช้ ครูค วรจ ัดกิจกรรมให้สัมพันธ์ทั้ง 2
ส่วน คือ การนำ�ค วามร ู้เรื่องเงินไปใช้ในช ีวิตป ระจำ�ว ันแ ละก ารแ ก้โจทย์ป ัญหาเกี่ยวก ับเงิน ในก ารจ ัดก ิจกรรม